คลังเก็บป้ายกำกับ: สถิติการวิเคราะห์

ออกแบบแบบสอบถาม_วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss_สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน_เทคนิคการทำงานวิจัย_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส

3 Key Success ในการทำธีสิส (Thesis)

ในการทำ Thesis (ธีสิส)  แต่ละครั้งนั้น ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นกับนักวิจัยมือใหม่ ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้

เรียนรู้ 3 key success ที่จะทำให้งานวิจัยของท่านนั้นสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสามารถลดระยะเวลาในการทำงานวิจัย และลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อีกด้วย

1. ต้องมีการอ้างอิงทุกครั้ง

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ในการเขียนงานวิจัยนั้นจำเป็นจะต้องมีการอ้างอิงทุกย่อหน้า หรือมีการอ้างอิงท้ายย่อหน้าแทรกอยู่ภายในเนื้อหาของงานวิจัย และแหล่งอ้างอิงที่นำมาใช้นั้นจะต้องเป็นแหล่งอ้างอิงทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำงานวิจัย เพื่อพัฒนาต่อยอดความรู้ให้สูงขึ้นได้

โดยเฉพาะการทำ Thesis แต่ละครั้งจำเป็นที่จะต้องใช้งานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากต่างประเทศมาเป็นแหล่งข้อมูลสนับสนุนงานวิจัยดังกล่าว เพื่อสะท้อนว่าเนื้อหาของงานวิจัยนั้นผ่านการกลั่นกรอง บูรณาการข้อมูลมาแล้ว ซึ่งเป็นผลดีต่อผู้ที่อ่านงานวิจัยของท่านและการพัฒนาตัวท่านเองอีกด้วย

2. ตัวแปรที่ใช้อ้างอิงควรมีแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

หลายท่านที่นำข้อมูลในการทำ Thesis มาจากแหล่งข้อมูลที่เป็นเว็บไซต์ทั่วไปซึ่งเป็นข้อมูลที่ทันสมัย แต่มีความเป็นวิชาการน้อย

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

เนื่องจากปัจจุบันสามารถใช้ข้อมูลจากเว็บไซต์ Block หรือ Youtube มาอ้างอิงในการทำงานวิจัย หรือการทำ Thesis  ได้ก็จริง แต่แหล่งข้อมูลต่างๆ เหล่านี้จะมีปัญหาตรงเนื้อหาข้อมูลไม่มีน้ำหนักมากพอในการนำมาใช้อ้างอิงในงาน Thesis หรืองานวิจัยต่างๆ ได้ส่งผลให้ไม่สามารถเชื่อถือข้อมูลงาน Thesis ได้ดังกล่าวได้ 100% 

ฉะนั้นแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือส่วนใหญ่แล้วจะเป็นหน่วยงานที่เป็นองค์กรภาครัฐ หรือหน่วยงานระดับภาคเอกชนที่มีความน่าเชื่อถือในระดับสากลและเป็นที่ยอมรับของสังคม อีกทั้งแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจำเป็นที่จะต้องมีความชัดเจน หรือผู้มีตำแหน่งที่เกี่ยวข้องทางวิชาการให้การยอมรับ 

3. กลุ่มตัวอย่างต้องให้ความร่วมมือ

กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มที่ให้ข้อมูลสำคัญในการทำ Thesis แต่ละเล่มนั้น จำเป็นที่จะต้องเต็มใจให้ความร่วมมือ ในการตอบแบบสอบถาม หรือตอบแบบสัมภาษณ์ 

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ซึ่งจะต้องให้ความสำคัญและคำนึงถึงกลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลว่า กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นใครนั้น จะทำให้ได้รับความร่วมมือในการเก็บข้อมูลพร้อมกับได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงประเด็น และน่าเชื่อถือ

ดังนั้น 3 Key success ของการทำ Thesis นั้นจำเป็นต้องคำนึงถึง การใช้แหล่งอ้างอิงว่าควรจะใช้ในรูปแบบไหน ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดคือการใช้อ้างอิงทุกย่อหน้า และมีมากกว่า 1 แหล่งอ้างอิงขึ้นไป โดยจะต้องมีแหล่งอ้างอิงที่มาจากต่างประเทศด้วย รวมถึงการได้ข้อมูลมาจากกลุ่มตัวอย่างที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย และได้รับความร่วมมือจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญนั้นเป็นอย่างดี จึงจะทำให้การทำ Thesis นั้นมีคุณภาพ และถูกต้องตามหลักทางวิชาการ

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
ออกแบบแบบสอบถาม_วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss_สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน

เทคนิคการสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที

ในบทความนี้จะเป็นเทคนิค 3 ข้อ การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที ทั้งยังสามารถเป็นแนวทางเพื่อพัฒนาการสร้างแบบสอบถามของงานวิจัยสำหรับผู้วิจัยมือใหม่ได้อีกด้วย

1. กำหนดแต่ละส่วนตามตัวแปรที่ใช้ในกรอบแนวคิดการวิจัย

ในงานวิจัยที่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ส่วนใหญ่แล้วจะต้องมีกรอบแนวคิดการวิจัย ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดตัวแปรต้นและตัวแปรตาม เพื่อให้สามารถกำหนดตัวแปรย่อยหรือองค์ประกอบย่อยของแต่ละส่วนงานได้ต่อไป

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้นในการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย โดยเริ่มจากการกำหนดตัวแปรต้น และสร้างข้อคำถามที่เกี่ยวข้องไล่มาตามลำดับของตัวแปรต้น 

เช่น สมมติว่ามีปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดเป็นตัวแปรต้น ก็จะกำหนดข้อคำถามโดยเริ่มตั้งแต่ปัจจัยส่วนบุคคลไล่ลงมาที่ทัศนคติและปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดตามลำดับ แล้วค่อยกำหนดตัวแปรตามในลำดับถัดมา

2. สังเคราะห์จากนิยามศัพท์

เมื่อสามารถสร้างข้อคำถามในแต่ละส่วนตามกรอบแนวคิดการวิจัยได้แล้ว ควรมีการนำเนื้อหามาเขียนเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ขึ้นมา เนื่องจากว่านิยามศัพท์จะต้องสะท้อนถึงข้อคำถามที่นำมาสังเคราะห์จากตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยได้ด้วย

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้น หากท่านสามารถสร้างข้อคำถามที่สอดคล้องกับนิยามศัพท์ได้ โดยตั้งเป็นข้อคำถามในแบบสอบถามงานวิจัยก่อน แล้วจึงนำเนื้อหาจากข้อคำถามของแบบสอบถามนั้นมาเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ จะทำให้ทั้งสองส่วนนั้นมีความสอดคล้องกันและไม่จำเป็นต้องมาแก้ไขในภายหลัง

3. มีข้อคำถามปลายเปิด

แบบสอบถามที่ดีที่สุดจำเป็นจะต้องมีการเปิดให้เสนอความคิดเห็นที่เกี่ยวกับหัวข้อที่ทำการศึกษาวิจัย เช่น ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อบริการหรือผลิตภัณฑ์นั้น จำเป็นจะต้องมีการเปิดให้กลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับหัวข้องานวิจัยดังกล่าวได้

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

เพื่อที่จะนำข้อคิดเห็นที่สำคัญจากกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวนั้นมาเขียนเป็นข้อเสนอแนะ หรือนำมาสรุปเป็นผลการวิจัยที่จะเป็นประโยชน์ต่อการนำเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในครั้งถัดไปได้

ดังนั้นการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงจำเป็นจะต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย ไล่เรียงตามลำดับตัวแปร และมีองค์ประกอบย่อยที่แสดงผลอย่างชัดเจน 

หากท่านสามารถสร้างแบบสอบถามจากกรอบแนวคิดการวิจัยได้ ก็จะทำให้ท่านได้รับความสะดวกในการเขียนเนื้อหางานวิจัยในส่วนที่เกี่ยวข้อง และสามารถที่จะออกแบบแบบสอบถามโดยสำเร็จได้ในระยะเวลาไม่เกิน 30 นาที เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการทำงานวิจัยในส่วนอื่นๆ ต่อไป

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สัญลักษณ์สถิติเบื้องต้นที่คุณควรรู้

“สัญลักษณ์สถิตินี้มีความความว่าอย่างไร?” 
“สัญลักษณ์สถิตินี้เป็นสถิติประเภทไหน?”

ความจริงที่ว่าคุณไม่จำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์สถิติได้ แค่รู้ในขั้นพื้นฐาน ให้สามารถทำการอธิบายได้ว่าในงานวิจัยที่คุณทำการศึกษานั้นใช่สถิติอะไรในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตอบคำถามของงานวิจัย

ฉะนั้น บทความนี้เราจะมาตอบคำถามที่ทางทีมงานของบริษัทฯ เราเจอเป็นประจำเกี่ยวกับสัญลักษณ์สถิติ ซึ่งเป็นคำถามที่ลูกค้าสอบถามเข้ามาบ่อยมาก และรวมถึงคุณเองที่ก็สงสัย และอยากได้คำตอบนั้นเหมือนกัน 

รวบรวมสัญลักษณ์สถิติที่ หรือคุณทำกำลังศึกษาเกี่ยวกับสถิติควรต้องรู้ ซึ่งจะแบ่งสัญลักษณ์ตามประเภทสถิติ เพื่อไม่ให้สับสน ได้ดังนี้

1. สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา

สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_วิเคราะห์-SPSS_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2. สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน

สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน_วิเคราะห์-SPSS_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

จะเห็นได้ว่าแต่ละสัญลักษณ์สถิตินั้นมีความหมายที่ชัดเจนต่างกันออกไป และคงจะคลายข้อสงสัยของคุณไปได้ไม่น้อยเลยทีเดียว อีกทั้งสามารถนำใช้ประโยชน์ได้เลยไม่ว่าจะตอนขึ้นสอบ หรือตอนตอบคำถามกับอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยได้อย่างมั่นใจได้อีกด้วย

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss

วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS จ้างอย่างไรดี ที่นี่มีคำตอบ!

หากคุณเป็นผู้ทำวิจัยในหัวข้อทางด้านสังคมศาตร์ และต้องการหาโปรแกรมที่สามารถวิเคราะห์สถิติและแสดงผลในรูปแบบต่างๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตาราง แผนภูมิ กราฟ และการทำนายค่าทางสถิติเบื้องต้น ไปจนถึงขั้นสูง คงหนีไม่พ้นโปรแกรม SPSS 

เพราะโปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางด้านสถิติเป็นอย่างดีเสมอไป เพียงแค่มีความรู้สถิติเบื้องต้น เช่น ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าฐานนิยม และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ก็สามารถนำมาประยุกต์เพื่อนำเสนอข้อมูลให้น่าสนใจ สามารถตอบโจทย์งานวิจัยได้เป็นอย่างดี 

ซึ่งเหมาะสำหรับผู้วิจัยที่ต้องการประมวลผลข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว ดังนั้นผลตัวเลขที่ได้จากโปรแกรม SPSS จึงนิยมนำมาใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจของผู้บริหาร การวิเคราะห์การตลาดเบื้องต้น รวมถึงการวิเคราะห์ทัศนคติ และความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างได้เป็นอย่างดี หากผู้ใช้นำมาประยุกต์จะสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

และ ในปัจจุบันโปรแกรม SPSS ได้มีการพัฒนาขึ้น จนสามารถตอบสนองผู้ใช้งานให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เช่น สามารถรองรับการคีย์ข้อมูลที่เป็นภาษาไทยได้ และสามารถดึงฐานข้อมูลจากโปรแกรมอื่นเข้ามาวิเคราะห์ข้อมูลได้ง่าย จึงทำให้โปรแกรม SPSS เป็นที่นิยมมากในหมู่ของนักสถิติ และนักวิจัย 

แต่กระนั้นก็มีผู้ทำวิจัยหลายท่านที่ไม่มีเวลาในการทำงานวิจัยในขั้นตอนนี้ อาจเนื่องจากภาระหน้าที่จากงานประจำ มีโรคประจำตัว ไม่ถนัดทางด้านสถิติ หรือต้องดูแลครอบครัว จึงอาจต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้รับช่วงต่อ เพื่อให้งานเสร็จทันเวลา ซึ่งก่อนการตกลงจ้างคุณควรมีการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูลโปรแกรม SPSS ดังนี้

1. ผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูล มีสถานที่การทำงานเป็นหลักแหล่งหรือไม่

สิ่งแรกที่ลูกค้าส่วนใหญ่มักถามเราเป็นอันดับแรก คือ มีสถานที่การทำงานอยู่ที่ไหน ซึ่งเป็นคำถามที่ทีมงานทุกท่าน โดนถามอยู่เป็นประจำ ถึงแม้ว่าบริษัทฯ จะรับวิเคราะห์ผลมามากกว่า 8 ปี แล้วก็ตาม นั่นเป็นสิ่งที่ลูกค้าตั้งใจจะถาม เพื่อสร้างความมั่นใจก่อนเริ่มทำงาน และเพื่อให้รู้ว่ามีตัวตนจริง ไม่ใช่มิจฉาชีพ 

ดังนั้น ก่อนเริ่มว่าจ้างงานอาจจะต้องมีการตรวจสอบว่า ผู้รับวิเคราะห์ผลมีสถานที่ทำงานเป็นหลักแหล่งจริงหรือไม่ บริษัทอยู่ที่ไหน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการว่าจ้าง

2. มีความรู้ทางด้านสถิติจริง

การตกลงว่าจ้างวิเคราะห์ผลข้อมูล เป็นบริการที่หลายๆ ท่านหันมาใช้บริการเพื่อลดระยะเวลาในการวิจัยของตัวเอง เนื่องจากการวิเคราะห์ข้อมูลต้องใช้บุคคลหลายคนทำงานร่วมกัน เช่น การกรอกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผลข้อ การตรวจสอบข้อมูล ทุกกระบวนการจะต้องอาศัยความชำนาญสูงในการตรวจสอบตัวเลข เพราะจะต้องอยู่กับตัวเลขหลายๆ ตัวรวมกัน 

ดังนั้นเพื่อให้งานเสร็จทันเวลาที่กำหนดไว้ ผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูล SPSS จะต้องมีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางด้านสถิตินั้นจริงด้วย เพราะจะต้องสามารถรู้กระบวนการได้มาของตัวเลขดังกล่าวเป็นอย่างดี เมื่อลูกค้าสอบถาม ผู้วิเคราะห์จะต้องสามารถตรวจสอบ และตอบคำถามได้ทันที ฉะนั้นการเลือกผู้ให้บริการจึงมีผลต่องานของคุณเป็นอย่างมาก

3. มีผล Output ของโปรแกรม SPSS ให้

ในการวิเคราะห์ผลข้อมูลทุกครั้ง โปรแกรม SPSS จะแสดงผล Output เพื่อให้ผู้วิเคราะห์ผลข้อมูลสามารถนำไปประมวลผลให้ออกมาในรูปแบบตาราง และบรรยายข้อมูลออกมา เพื่อให้ผู้อ่านงานวิจัยสามารถเข้าใจผลการวิจัยได้ง่ายขึ้น ซึ่งหากผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูลท่านใดไม่มี Output จากโปรแกรม SPSS ให้สันนิษฐานได้เลยว่าตัวเลขที่ได้มานั้นมีการคัดลอกจากที่อื่นมา หรือมั่วตัวเลขขึ้นมานั่นเอง

ดังนั้นเพื่อให้ได้ข้อมูลจากการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SPSS ที่ถูกต้อง และรวดเร็ว คุณควรใช้บริการกับบริษัทที่มีความน่าเชื่อถือ มีสถานที่ทำงานเป็นหลักแหล่ง มีผู้เชี่ยวชาญในการให้บริการ และมีผล Output จากโปรแกรม SPSS มอบให้ เพื่อการันตีผลงาน

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_T - test dependent กับ T - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ T - test แตกต่าง_T - test dependent กับ T - test independent_T - test dependent_T - test independent

T – test dependent กับ T – test independent นั้นแตกต่างกันอย่างไร?

ถ้าพูดถึงสถิติ T – test หลายคนๆ คงจะคุ้นๆ หู กับคำว่า T – test dependent และ T – test independent  กันมาบ้างแล้ว

ในบทความนี้จะมาบอกถึงความแตกต่างของสถิติ T – test ทั้ง 2 ตัวนี้ ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และ สถิติ T – test dependent กับ สถิติ T – test independent ควรนะไปใช้ในสถานการณ์ใดบ้าง โดยสามารถแยกย่อยเป็น 2 ประเด็น ดังนี้…

1. สถิติ T – test dependent

สถิติ T – test dependent เป็นสถิติที่ใช้ในการทดสอบข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง ในกลุ่มเดียวกัน ที่มีขนาดน้อยกว่า 30 คน (n<30) ส่วนใหญ่จะใช้ในงานวิจัยเชิงทดลอง 

และในบางครั้ง สถิติ T – test dependent สามารถเรียกอีกชื่อว่า “สถิติ Paired Samples T-test” สาเหตุนี้มากจาก Paired Samples T-test นั้นเป็นชื่อคำสั่งบนแถบเมนูในโปรแกรม SPSS เวลาที่ผู้วิจัยเริ่มทำการวิเคราะห์สถิติ T – test dependent ซึ่งเป็นภาษาที่นักวิจัยพูดกันเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน นั่นเอง

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_T - test dependent กับ T - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ T - test แตกต่าง_T - test dependent กับ T - test independent_T - test dependent_T - test independent
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้น สถิติ T – test dependent  ส่วนใหญ่จะใช้ในงานวิจัยของ สาขาวิชาครูทุกสาขาวิชา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์บางสาขาวิชา ที่ต้องมีการเปรียบเทียบก่อนและหลังการทดลอง เพื่อทดสอบประสิทธิผลของการทำงาน

ในสาขาวิชาครูจะเห็นบ่อยมาก เช่น การเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนกลุ่มเดียวกัน ว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ 

ส่วนสาขาวิทยาศาสตร์ เรามักจะเห็นในงานทดลอง เพื่อทดสอบในสิ่งที่ทีมวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์กำลังทดลองสิ่งนั้นอยู่ เช่น การทดสอบประสิทธิผลไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในการผลิตน้ำยาฆ่าเชื้อเพื่อฉีดพ่นเชื้อโควิด 19 (COVID-19) ว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่

สูตรของสถิติ T – test dependent จึงสามารถแสดงได้ ดังนี้

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_T - test dependent กับ T - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ T - test แตกต่าง_T - test dependent กับ T - test independent_T - test dependent_T - test independent
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2.  สถิติ T – test independent

ส่วน สถิติ T – test independent เป็นสถิติที่ใช้ในการทดสอบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน โดยข้อตกลงเบื้องต้นของสถิตินี้ กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มจะต้องไม่สัมพันธ์กันหรือเป็นอิสระต่อกัน อีกทั้งค่าของตัวแปรตามในแต่ละหน่วยต้องเป็นอิสระต่อกัน 

และกลุ่มตัวอย่างได้มาต้องสุ่มมาจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติด้วย ผู้วิจัยจะเห็นการใช้สถิตินี้ใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม โดยอาจเปรียบเทียบได้ทั้งค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน เช่น การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองกลุ่ม เมื่อมีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ 

ส่วนใหญ่ผู้วิจัยจะเห็นการใช้ สถิติ T – test independent ได้ในทุกสาขาวิชา เช่น การเปรียบเทียบปัจจัยประชาศาสตร์ ด้านเพศ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในเซเว่น สาขาบางนา แตกต่างกัน

สูตรของสถิติ T – test independent จึงสามารถแสดงได้ ดังนี้

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_T - test dependent กับ T - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ T - test แตกต่าง_T - test dependent กับ T - test independent_T - test dependent_T - test independent
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า สถิติ T – test dependent และ T – test independent แตกต่างกันที่ขนาดกลุ่มตัวอย่าง ความเป็นอิสระของตัวแปร และวัตถุประสงค์ในการใช้งาน

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com

งานวิจัย กับ การทดสอบสถิติ T-test

“ทำไมเราถึงต้องทดสอบสถิติ T-test”

ถ้าหากผู้วิจัยจะทำงานวิจัยสายการตลาดสักชิ้นหนึ่ง เพื่อวิเคราะห์ส่วนแบ่งการตลาดในตลาดที่ผู้วิจัยอยู่ คงหนีไม่พ้นที่ต้องทำการวิเคราะห์ ปัจจัยประชากรศาสตร์ ซึ่งปัจจัยด้านเพศ แต่ละบุคคลนั้นก็มีความต้องการที่แตกต่างกันไป อาจมาจากประสบการณ์ที่ผ่านมา สภาพสังคม การใช้ชีวิต ความชอบ วัฒนธรรม เป็นต้น

สถิติ T-test จึงถือได้ว่าถือเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการทดสอบ เพื่อให้ผลวิจัยมีความชัดเจนมากยิ่ง ซึ่งกฎของสถิติ T-test ได้กล่าวว่า ตัวแปรที่ผู้วิจัยต้องการจะทดสอบต้องมี 2 ตัวแปร เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ที่มีความสัมพันธ์กันหรือเป็นอิสระต่อกัน เช่น 

ตัวแปรเพศ

เพศชาย กับ เพศหญิง 

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ตัวแปรช่วงเวลา

ช่วงเวลาวันลาพักร้อน กับ วันหยุดตามเทศกาล

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ตัวแปรการกลับมาเที่ยว

จะกลับมาเที่ยวอีก กับ ไม่กลับมาเที่ยวอีก

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ตัวแปรการวางแผน

มีการวางแผนล่วงหน้าในการจองที่พัก กับ ไม่มีการวางแผนล่วงหน้า 

สถิติ T-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

“แล้วสถิติ T-test จะใช้ทดสอบงานวิจัยสายการตลาดได้อย่างไร”

จากข้อมูลการวิเคราะห์สถิติ T-test เป็นการวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวจีนที่ส่งผลต่อการมาท่องเที่ยวเมืองพัทยา ดังนั้นผู้วิจัย ที่เป็นผู้ประกอบอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว คงมองภาพออกว่าท่านจะสามารถนำผลการวิเคราะห์ สถิติ T-test มาวิเคราะห์การตลาดอย่างไร

ยกตัวอย่าง การอธิบายผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผลิตภัณฑ์ของสถานที่ท่องเที่ยวในเมืองพัทยา พบว่า นักท่องเที่ยวจีน เพศชายส่วนใหญ่ชอบมาเที่ยวเมืองพัทยาช่วงวันลาพักร้อน และมีแนวโน้มที่มาเที่ยวอีก โดยจะต้องมีการวางแผนล่วงหน้าในการจองที่พัก

“แล้วข้อมูลนี้สามารถนำไปใช้อะไรได้บ้าง ทางการตลาด”

สำหรับข้อมูลความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวจีนที่มีต่อการมาท่องเที่ยวเมืองพัทยาข้างต้น อย่างน้อยผู้ประกอบการที่พักจะรู้จักกลุ่มลูกค้าของตนเองมากยิ่งขึ้น และการทำ Ads โฆษณาไปที่กลุ่มเป้าหมายนี้จะทำให้มีโอกาสในการตัดสินใจจองห้องพักมากกว่ากลุ่มอื่นๆ 

นอกจากด้านผลิตภัณฑ์ที่พักแล้ว ผู้ประกอบการ อากจะต้องสอบถามความพึงพอใจด้านอื่น เช่น ด้านพนักงาน ด้านราคา ด้านโปรโมชั่น เป็นต้น เพื่อนำมาทำโฆษณาส่งเสริมการตลาดต่อไป

จึงสามารถสรุปได้ว่า การวิจัยโดยการทดสอบสถิติ T-test สามารถใช้ในการทดสอบสมมติฐานเพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกของกลุ่มลูกค้าได้เป็นอย่างดี ส่วนใหญ่สถิติ T-test จะใช้กับการวิเคราะห์ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ การตลาด เป็นต้น

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
โปรแกรม SPSS_SPSS_ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

5 กฎข้อห้ามของ SPSS ที่หลายคนยังไม่รู้!

ในโปรแกรม SPSS มีกฎมากมายที่หลายยังไม่รู้ซ่อนอยู่ หากคุณเป็นมือใหม่ที่เพิ่งเริ่มใช้ SPSS แน่นอนคุณอาจจะไม่มีทางรู้เลยว่ามีกฎนี้อยู่ด้วย 

ในบทความนี้ทางเราได้หยิบยก กฎข้อห้ามบางส่วน 5 ข้อจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านสถิติ ที่คุณต้องพบเจอหากเป็นมือใหม่ที่ไม่เคยใช้โปรแกรม SPSS มาก่อน เพื่อเวลาเปิดใช้จะได้ไม่พบเจอปัญหา Eror หรือเปิดไฟล์ไม่ได้ 

1. คุณจะเปิดไฟล์นามสกุล .sav และ .spv ไม่ได้ถ้าเครื่องของคุณยังไม่ได้ลงโปรแกรม SPSS

รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ถ้าคุณเปิดมาเจอบทความนี้แสดงว่าคุณกำลังจะหาทางเปิดไฟล์ .spv และ .sav อยู่ใช่ไหม? 

ถ้าหากว่าใช่ในหัวข้อนี้จะอธิบายให้กระชับและเข้าใจง่ายที่สุด

ไฟล์นามสกุล .sav และ .spv เป็นไฟล์ที่มาจากโปรแกรม SPSS ดังนั้นหากคุณจะเปิด 2 ไฟล์ นี้ควรลงโปรแกรม SPSS ก่อนถึงจะเปิดได้ตามปกติ

และนอกจากนั้น 2 ไฟล์นี้จะเปิดได้เฉพาะบนเครื่องคอมพิวเตอร์ PC เท่านั้น!! และเครื่องที่ใช้เปิดไฟล์ดังกล่าวจะต้องใช้ Windows ต่อไปนี้ Windows 10, Windows 7, Windows 8 / 8.1, Windows Vista หรือ Windows XP

2. คุณไม่สามารถเปิดไฟล์ SPSS เวอร์ชั่นล่าสุด บนเครื่องที่เวอร์ชั่นเก่ากว่าได้

ปัญหานี้มักจะเจอกับผู้ใช้โปรแกรมที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป หากคุณไม่รู้ไม่ใช่เรื่องที่ผิดเพราะว่าในปัจจุบันโปรแกรม SPSS มีการปรับประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเสมอ จึงมีการอัพเดทเวอร์ชั่นใหม่ๆ อยู่เรื่อยๆ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการคำนวณให้รวดเร็ว และแม่นยำมากขึ้น 

ดังนั้นคนที่ไม่ได้ใช้ทุกวันจึงใช้เวอร์ชั่นเดิมที่ตนเองเคยชิน เนื่องจากเมนูคุ้มมือ คุ้นตา ซึ่งเวอร์ชั่นเก่าสุดที่บริษัทเคยสอบถามลูกค้าคือ SPSS เวอร์ชั่น 17 จึงพบปัญหาเปิดไฟล์ไม่ได้เมื่อสลับเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้อีกเครื่องที่มีโปรแกรม SPSS เวอร์ชั่นใหม่กว่า

3. การกำหนดรหัสตัวแปรจะแทนค่าด้วยตัวอักษรไม่ได้

การกำหนดรหัสตัวแปรทุกครั้ง จะต้องกำหนดในช่อง Values หากตัวแปรเป็นตัวอักษรจะต้องแปลงเป็นรหัสตัวเลขก่อน เพื่อให้โปรแกรมนำตัวเลขไปวิเคราะห์ผลได้สะดวกขึ้น 

เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ กําหนดให้ ‘เพศชาย’ มีค่าเท่ากับ 1 และ ‘เพศ หญิง’ มีค่าเท่ากับ 2 เป็นต้น

4. การตั้งชื่อตัวแปรห้ามมีช่องว่าง และมีอักขระพิเศษ โดยเด็ดขาด

การตั้งชื่อตัวแปรในช่อง Name โปรแกรม SPSS อนุญาตให้ตั้งชื่อที่เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ แต่สิ่งที่ห้ามทำอีก 2 อย่างในการตั้งคือ

– ห้ามมีการเคาะเพื่อให้เกิดช่องว่าง

– ใช้อักษรพิเศษอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ตัวอักษรหรือตัวเลข  เช่น  ? ,   + ,   – ,   * ,   / ,  …  ยกเว้นเครื่องหมาย  _ (underscore) 

หากฝืนกฎโปรแกรมจะแจ้ง Error ทันที!!

5. ห้ามตั้งชื่อที่มีความยาว 8 ตัวอักษร

การตั้งชื่อตัวแปรในช่อง Name นั้นนอกจาก SPSS จะไม่ให้มีการเคาะช่องว่างและตัวอักษรพิเศษแล้ว สิ่งสำคัญคือการตั้งชื่อต้องมีความยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร ดังนั้นข้อคำถามที่ยาวมากๆ จะต้องใช้รหัสแทน ผู้วิจัยควรมีตารางกำหนดรหัสดังนี้

ข้อคำถามลงรหัส
ด้านราคาPrice
สินค้าที่ท่านซื้อมีราคาเหมาะสมA1
สินค้าที่ท่านซื้อมีราคาถูกเมื่อเทียบกับร้านอื่นA2

อย่างไรแล้วกฎข้อห้ามบางข้อที่กล่าวมาข้างต้น อาจมีเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับการพัฒนาของโปรแกรม SPSS ดังเช่น SPSS รุ่นเก่าๆ ที่ไม่สามารถตั้งชื่อตัวแปรเป็นภาษาไทยได้เลย แต่ปัจจุบันมีการปรับปรุงให้ใช้ภาษาไทยได้แล้ว อนาคตอาจจะมีการปรับปรุงให้มีการตั้งชื่อตัวแปรที่ยาวกว่า 8 ตัวอักษรก็เป็นไปได้

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
แบบสอบถาม_สร้างแบบสอบถาม_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_แบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_รับทำแบบสอบถาม

รับจ้างทําแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูลงานวิจัย

แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญ ในการได้มาซึ่งผลการวิจัย หากข้อคำถามในแบบสอบถามสามารถตั้งคำถามได้ดี ก็จะทำให้คุณสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมหาศาล

ดังนั้นการตั้งคำถามจึงมีความสำคัญมาก หากตั้งคำถามที่ตรงกับลักษณะพฤติกรรม หรือทัศนคติของผู้ตอบ ก็จะทำให้ได้แนวทางในการพัฒนาผลงานวิจัย และนำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ดี

โดยเฉพาะแบบสอบถามทางด้านการตลาด เช่น การสอบความเหมาะสมของราคาผลิตัณฑ์ ซึ่งอาจตั้งคำถามว่า

“ท่านคิดว่าราคาที่ท่านจ่าย กับคุณภาพที่ได้รับของสินค้านั้น มีความเหมาะสมหรือไม่” 

เมื่อได้คำตอบ ผู้ประกอบการสามารถนำแนวทางการตอบ ไปเเป็นแนวทางการตั้งราคาที่เหมาะสม ที่ผู้บริโภคยอมจ่ายสินค้านั้นง่ายขึ้นได้  

ในการรับทำแบบสอบถามทางบริษัทฯ ต้องทราบวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้างก่อนว่าต้องการสร้างแบบสอบถามขึ้นมาเพื่อใช้ในงานใด และกลุ่มตัวอย่างที่จะตอบเป็นกลุ่มใด เพื่อการตั้งคำถามที่นำมาซึ่งคำตอบตามวัตถุประสงค์ 

ดังนั้นบทความนี้คุณจะทราบถึงขั้นตอนการรับจ้างทำแบบสอบถาม ของบริษัทฯ ตามขั้นตอนนี้

1. ผู้รับทำแบบสอบถาม ต้องทราบวัตถุประสงค์ของการวิจัยก่อน

เหตุที่ต้องทราบวัตถุประสงค์ในวิจัยก่อน เพราะวัตถุประสงค์การวิจัย ทำให้รู้ว่าผู้วิจัยต้องการอะไร นอกจากนั้น ยังต้องดูกรอบแนวคิดการวิจัยเทียบด้วยว่า ผู้วิจัยศึกษาทฤษฎีใดมาวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้รับสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สามารถตั้งคำถามให้ตรงตามแนวทางของกรอบแนวคิดการวิจัยที่ได้สร้างไว้ในการตอบวัตถุประสงค์

ยกตัวอย่าง เช่น วัตถุประสงค์การวิจัย ต้องการศึกษาส่วนประสมทางการตลาดใดบ้าง ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นของผู้หญิงวัยทำงาน จังหวัดกรุงเทพมหานคร สิ่งที่ผู้รับทำต้องดูคือ ผู้วิจัยใช้แนวคิดอะไรมาสร้างกรอบแนวคิด อาจเป็น แนวคิดส่วนประสมทางการตลาด 4P เมื่อได้แนวทางการสร้างแบบสอบถามผู้รับทำต้องไปศึกษาแนวคิดทฤษฎีดังกล่าวเพิ่มว่า 4P ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง แล้วจะตั้งคำถามอย่างไรเพื่อให้ครอบคลุมแนวคิดทฤษฎีและตอบวัตถุประสงค์ด้วย

2. ตกลงเรื่องราคา

เมื่อผู้รับทำทราบวัตถุประสงค์การวิจัย และตรวจสอบกรอบแนวความคิดแล้ว จะสามารถประเมินราคาการสร้างแบบสอบถามได้

ซึ่งทางบริษัทฯ รับสร้างแบบสอบถามทั้งแบบออฟไลน์ และออนไลน์ โดยมีราคารับสร้างแบบสอบถาม เริ่มต้นอยู่ที่หน้าละ 1,199 บาท ซึ่งถือว่าเป็นราคาที่ถูก ผู้ว่าจ้างทุกท่านสามารถเข้าถึงราคาดังกล่าวได้

ปริญญาตรี

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน1,799 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน1,699 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน1,599 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน1,499 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน1,399 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน1,299 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน1,199 บาท/หน้า

ปริญญาโท

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน1,899 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน1,799 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน1,699 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน1,599 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน1,499 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน1,399 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน1,299 บาท/หน้า

ปริญญาเอก

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน2,999 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน2,899 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน2,799 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน2,699 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน2,599 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน2,499 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน2,399 บาท/หน้า

3. การกำหนดระยะเวลาวันส่งงาน

เมื่อตกลงราคาในการทำงานแล้ว สิ่งสำคัญที่ผู้ว่าจ้าง กับ ผู้รับทำต้องตกลงกัน คือ ระยะเวลาวันส่งงาน ซึ่งผู้รับทำต้องสามารถบอกระยะเวลาวันส่งงานได้ว่า ต้องส่งงานได้วันไหน เวลากี่โมง  เพื่อให้ผู้รับทำเตรียมตัวในกระบวนการต่อไปของงานวิจัย 

เช่น การสร้างแบบสอบถาม ราคาเริ่มต้นหน้าละ 1,199 บาท ทางบริษัทฯ ใช้ระยะเวลาในการทำงาน 7 วัน ในการทำงานทุกครั้ง ทางบริษัทฯ ยึดถือการส่งงานตรงเวลาเป็นอย่างมาก เนื่องจาก การกำหนดเวลาวันส่งงาน แล้วสามารถทำงานได้ตามกำหนด เป็นสิ่งที่ลูกค้ามักบอกต่อเพื่อนหลังการใช้บริการของบริษัทฯ เรา

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

งานวิจัย ANOVA ทำอย่างไร ที่นี่มีคำตอบ!

ANOVA, One Way ANOVA, หรือ F-test เป็นชื่อเรียกที่หลายๆ คนสับสน ว่ามันคือสถิติตัวเดียวกันหรือไม่ มีวิธีการทำอย่างไร แล้วต้องดูอย่างไรว่าตัวแปรดังกล่าวสามารถใช้สถิติ ANOVA ในการวิเคราะห์ได้ 

ซึ่งบทความนี้จะมีคำตอบให้คุณ ด้วยคำอธิบายในฉบับที่เข้าใจง่ายค่ะ

1. คำอธิบายของ ANOVA ฉบับเข้าใจง่าย

ANOVA หรือ One Way ANOVA นั้นมีชื่อเรียกย่อๆ ว่า F-test 

ซึ่งในบทความนี้จะขอเรียกว่า ANOVA เพื่อให้เข้าใจตรงกันนะคะ จากข้อคำถามข้างต้นที่บทความได้กล่าวนำคุณมาถึงตรงนี้ คงตอบข้อสงสัยแล้วใช่ไหมคะว่า ANOVA, One Way ANOVA, หรือ F-test คือสถิติตัวเดียวกันนั่นเอง  ซึ่งทั้งสามชื่อที่กล่าวมานั้นจะเรียกแตกต่างกันไป แล้วแต่นักสถิติท่านใดจะถนัดเรียก สาเหตุที่มีชื่อย่อเรียกแบบนี้ก็เพราะว่าผลที่แสดงในตาราง ANOVA นั้นจะมีตัวย่อคือตัว F นั่นเอง

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ซึ่งหน้าที่ของ ANOVA นั้น มีไว้เพื่อทดสอบสมมติฐานทางสถิติของตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ที่เป็นอิสระต่อกัน กับตัวแปรตาม ว่ามันมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ดังเช่น ตัวอย่างในรูปที่ 1 ด้านบน

ตัวอย่างในรูปที่ 1 ต้องการรู้ว่า สถานภาพ (ตัวแปรต้น) ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อ ปัจจัยทั้ง 6 ได้แก่ ความเหลื่อมล้ำทางอำนาจ ความเป็นปัจเจกบุคคล มิติความแตกต่าง การหลีกเลี่ยงไม่แน่ การมุ่งเน้นเป้าหมาย การสนับสนุนองค์กร (ตัวแปรตาม) หรือไม่

โดยจุดมุ่งหมายของการทดสอบ ANOVA จริงๆ นั้นต้องการทดสอบเพื่อให้รู้ว่าค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่มาก
กว่า 2 กลุ่มนั้นแตกต่างกันคู่ไหนนั่นเอง ซึ่งก่อนอื่นต้องขออธิบายก่อนว่า ตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม คืออะไร 

ถ้าจะอธิบายให้เข้าใจง่ายๆ เลย ตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ก็คือ ตัวแปรในแบบสอบถามที่มากกว่า 2 ตัวเลือก นั่นเอง หากนึกไม่ออกให้ดูรูปภาพ ที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยม

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

คุณคงเข้าใจมากขึ้นแล้วใช่ไหมคะว่าตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม คืออะไร ต่อไป คงสงสัยกันแล้วใช่ไหมคะว่า ตัวแปรตามคืออะไร ตัวแปรตามก็คือ ตัวแปรที่เป็นผลที่ทำเกิดขึ้นภายหลังนั่นเอง 

ซึ่งตัวแปรนี้จะเป็นตัวที่ถูกทำนาย ตอบสนอง หรือเปลี่ยนแปลงได้ง่าย ให้สังเกตจากกรอบแนวความคิดแล้วกันนะคะ เข้าใจง่ายดีค่ะ

2. วิธีการตรวจสอบว่าตัวแปรดังกล่าวสามารถทดสอบ ANOVA ได้หรือไม่

จากการอธิบายข้างต้นคุณคงเข้าใจแล้วว่าตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่มคืออะไร ตัวแปรตามคืออะไร ดังนั้นวิธีการตรวจสอบว่าตัวแปรดังกล่าวสามารถนำไปทดสอบ ANOVA ได้หรือไม่นั้น ให้คุณตรวจสอบก่อนว่าค่าความถี่ของการตอบนั้น มีการตอบมากกว่า 1 คน หรือไม่ เหตุที่ต้องให้ตรวจสอบเช่นนี้เพราะว่า ถ้ามีคนตอบเพียง 1 คน จะนำทดสอบ ANOVA ไม่ได้ 

3. คำสั่งที่ใช้ในการวิเคราะห์ ANOVA

เลือกคำสั่ง Analyze>Compare Means>One Way ANOVA หน้าต่างจะปรากฎหน้าตาแบบนี้

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ใส่ตัวแปรตามที่มากกว่า 2 ตัวแปรเข้าไปในช่อง Dependent List ใส่ตัวแปรต้นเข้าไปในช่อง Factor

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

กดปุ่ม Post Hoc เพี่อเลือกวิธีเปรียบเทียบรายคู่ จากนั้นเลือกวิธีเปรียบเทียบรายคู่ที่คุณใช้ ในที่นี้ เลือกวิธีของ Scheffe’s

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

จากนั้นเลือก Continue>OK ถือเป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการทำ ANOVA

4. วิธีอ่านค่า ANOVA ในโปรแกรม spss

เมื่อนำตัวแปรเข้าทดสอบ จะได้ตาราง ANOVA ขึ้นมา

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

จากรูปจะเห็นว่าค่า Sig. ต่ำกว่า 0.05 ทุกด้านซึ่งวิธีที่จะรู้ว่าค่าเฉลี่ยคู่ไหนแตกต่างกันนั้น ต้องทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยส่วนใหญ่จะใช้การเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison test) ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) หรือการทดสอบ HSD ของทูกีย์ (Tukey’s HSD test) รวมถึงวิธีของนิวแมนคูลส์ (Newman Keuls method) ซึ่งการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ที่นิยมมากที่สุดก็คือ วิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) นั่นเอง จะมีหน้าตาดังนี้

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

จากรูปจะเห็นได้ว่าตัวแปรต้นที่ส่งผลต่อตัวแปรตามได้ ก็ตือตัวแปรที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ในช่องของ Mean Difference นั่นเอง

จากบทความคุณคงเข้าใจวิธีการทำงานวิจัยด้วยสถิติ ANOVA มากขึ้น ดังนั้นการเริ่มใช้สถิติ ANOVA เบื้องต้นคุณคงพิจารณาข้อกำหนดดังกล่าวได้บ้าง แต่อย่างไรก็ตามการใช้สถิติต้องดูความเหมาะสมและดูวัตถุประสงค์อีกที เพื่อให้คุณสามารถเลือกสถิติได้ตอบวัตถุประสงค์มากขึ้น

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สร้างแบบสอบถาม_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_แบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

ขั้นตอนวิเคราะห์ SPSS แบบสอบถามที่ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ

ในการวิเคราะห์พฤติกรรมจะมีคำตอบที่มากกว่า 1 ข้อ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ผู้วิจัยจะปิดกั้นการตอบของผู้ตอบแบบสอบถามเพียงข้อเดียว  ดังนั้นเพื่อให้ได้คำตอบที่สมบูรณ์ การสร้างแบบสอบถามจึงควรที่จะต้องสร้างตัวเลือกในการตอบคำถามเพื่อมารองรับคำตอบที่ตอบมากกว่า 1 ข้อด้วย ซึ่งตัวอย่างของข้อคำถามที่ตอบได้มากกว่า 1 ข้อจะมีลักษณะนี้

รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

เมื่อทราบลักษณะของแบบสอบถามที่มากกว่า 1 ข้อแล้ว ในบทความนี้จะบอกถึงขั้นตอนสำหรับการวิเคราะห์แบบสอบถามที่มากกว่า 1 ข้อ ดังนี้

1. เลือกเมนูคำสั่ง Analyze  >>   Multiple Response >>  Define Sets…

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

2. นำชุดของตัวแปรไปที่ Variable  in  Set :

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

3. ที่  Variable are  Coded  As  เลือกคำสั่งดังนี้

▪ Dichotomies สำหรับค่าของตัวแปรเป็นไปได้ 2 ค่า และ Counted Value : คือการกำหนดค่าที่ต้องการนับ

▪ Categories สำหรับตัวแปรแยกประเภท และที่ Range ระบุค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด

4. Name และ Label เป็นการตั้งชื่อและรายละเอียดของกลุ่มตัวแปรใหม่

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

5. คลิก Add

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

6. คลิก  Close

7. เลือกเมนูคำสั่ง Analyze >>  Multiple  Response  >>  Frequencies…

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

8. นำตัวแปร Multiple Response  Set  ไว้ที่  Table(s) for:

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

9. ที่ Missing Values สามารถกำหนดไม่ต้องนำค่าสูญหามาคำนวณได้

▪ Exclude  cases list wise within dichotomies สำหรับตัวแปร Multiple Response  Set  ที่เป็นชนิด dichotomy

▪ Exclude case  list wise  within  categories สำหรับตัวแปร Multiple Response  Set  ที่เป็นชนิด categories

10. คลิกปุ่ม OK ถือเป็นอันเสร็จสิ้น

ถึงแม้ว่าแบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ จะทำให้ผู้วิจัยทราบพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามละเอียดขึ้น แต่ข้อคำถามประเภทนี้ก็มีข้อจำกัด ที่ยังเป็นจุดบอดอยู่คือไม่สามารถนำข้อคำถามดังกล่าวมาทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA, Correration หรือ Regression ได้ จึงทำให้ผู้วิจัยไม่สามารถทราบได้เลยว่าพฤติกรรมใดส่งผลต่อตัวแปรตาม นอกเสียจากแปลงให้เป็นข้อคำถามที่ตอบได้ข้อเดียวถึงจะตอบสมมติฐานได้

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)


สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss

SPSS ไม่ยาก หากเข้าใจและมีเวลา

ในการศึกษางานวิจัยในแต่ละหัวข้อนั้น อาจจำเป็นต้องใช้สถิติขั้นสูงสำหรับการวิเคราะห์ SPSS ข้อมูลทางสถิติในงานวิจัย เช่น สมการพยากรณ์ โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) เป็นวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกับตัวแปรอิสระ หาความสัมพันธ์ลักษณะทางประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าต่างๆ

และ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ Factor Analysis เพื่อเป็นการลดรูปตัวแปร สำหรับ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ T-Test , F-Test เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลทางสถิติตัวแปรต้นที่มีผลต่อตัวแปรตาม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 เป็นต้น

วิเคราะห์ข้อมูล SPSS ไม่ยาก หากมีเวลามากพอ

เชื่อว่าหลายๆ ท่าน ก่อนที่จะทำการตัดสินใจเริ่มบริการวิเคราะห์ผลข้อมูล SPSS นั้น หลายคนต่างก็ต้องศึกษาข้อมูลในขั้นตอนบริการ เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูล SPSS ตามกำหนด รวมถึงประวัติการการบริการของบริษัทฯ เรามาแล้วทั้งนั้น

ซึ่งทางบริษัทฯ เราเข้าใจในความกังวลของทุกท่าน เพราะราคาสำหรับบริการ SPSS นั้นค่อนข้างสูงพอสมควร และต้องเป็นบริการที่น่าเชื่อถือและไว้ใจได้

ซึ่งการวิเคราะห์ผลข้อมูล SPSS นั้นก็ไม่ใช่เรื่องยาก เพราะพื้นฐานในการใช้โปรแกรม SPSS นั้นมีขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยากเท่าไหร่ แต่ส่วนใหญ่ที่ใช้ในบริการงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์นั้น เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงเกือบทั้งสิ้น

เว้นเสียแต่ว่าคุณมีความเข้าใจในขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล SPSS อยู่ก่อนแล้ว  แต่ที่สำคัญคือ เวลา ที่ต้องใช้ในการเก็บข้อมูล เพื่อนำมาประมวลผลในงานวิจัยนั้นๆ ต้องมีมากพอ และยิ่งหากคุณทำงานประจำ คุณอาจจะต้องเสียเวลามากในการความเข้าใจ และออกไปเก็บข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์เอง

การวิเคราะห์ข้อมูล SPSS ประเมินราคาจริงตามขั้นตอนและระยะเวลา

จากที่กล่าวมาข้างต้น สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล SPSS นั้น มีขั้นตอนและต้องใช้เวลาในการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ประมวลผล จึงมีราคาที่ค่อนข้างสูงพอสมควร แต่หากเทียบกับขั้นตอนกับระยะเวลาที่คุณต้องเสียในการวิเคราะห์ข้อมูลเองนั้นถือว่าคุ้มค่ามาก

ทางบริษัทฯ เราสามารถวิเคราะห์ข้อมูลสถิติผ่านโปรแกรม SPSS ในราคาที่สมเหตุสมผล ได้ข้อมูลสถิติที่มีคุณภาพ ถูกต้องตามหลักสถิติ และยังทำให้คุณไม่ต้องเสียเวลาในการศึกษาโปรแกรมในการอ่านผลวิเคราะห์ข้อมูล SPSS ด้วยตนเอง

และไม่ส่งผลต่อหน้าที่การงานประจำต้องเสียเวลาวิเคราะห์ข้อมูล SPSS เป็นอย่างมาก หรืออาจจะทำผิดหลักการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติในงานวิจัย และส่งผลให้เสียเวลาในการแก้ไขงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้แก้ไขปรับปรุง

สำหรับราคาบริการ SPSS มีเกณฑ์ที่หลากหลายเกณฑ์ โดยทางบริษัทฯ จะประเมินราคาบริการ SPSS ตามขั้นตอนและระยะเวลาตามที่กำหนดเป็นเกณฑ์มาตราฐาน

รับประกันในความเป็นมืออาชีพ ราคาเหมาะสม  และส่งงานตรงตามเวลากำหนด

หากคุณกำลังตัดสินใจสำหรับการบริการ SPSS กับทางบริษัทฯ เรา คุณสามารถมั่นใจและคลายความกังวลต่างๆ ลงได้

เนื่องจากทางบริษัทฯ มีทีมงานที่มีประสบการณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ มีความสามารถในการใช้โปรแกรม SPSS ผ่านการฝึกอบรมและการลงมือในการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยที่หลากหลาน ซึ่งรับรองได้ว่าคุณจะได้ผลการวิเคราะห์งานวิจัยที่มีวามถูกต้องตามหลักการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ SPSS สำหรับงานวิจัย หรืองานวิทยานิพนธ์ และตรงตามกำหนดระยะเวลาอย่างแน่นอน

ทางบริษัทฯ บริการ SPSS การันตีผลงานวิจัยทุกชิ้นงาน ทางบริษัทฯ เรามอบสิทธิแก้ไขงานฟรี 2 ครั้งต่อการวิเคราะห์ข้อมูล กรณีแก้ไขผลงานวิจัยให้เป็นครั้งที่ 3 ทางเราจะประเมินการตามเกณฑ์ราคาที่ตัวกำหนดตามจริง

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย