คลังเก็บป้ายกำกับ: วิเคราะห์ ANOVA

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

บริการรับทำวิจัยประเภทไหน มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง

มีลูกค้าหลากหลายท่านที่สนใจจะใช้บริการรับทำวิจัยกับเรา แต่ยังไม่กล้าสอบถาม เพราะอยากจะศึกษาข้อมูลก่อน เพื่อทำการเปรียบเทียบสำหรับการตัดสินใจเลือกใช้บริการ ฉะนั้นในบทความนี้ ทางเราจะขอสรุปภาพข้อมูลภาพรวมคร่าว ๆ สำหรับการตัดสินใจเลือกใช้บริการ

เรามีบริการรับทำวิจัยหลากหลายประเภท

เราเป็นบริษัทรับทำวิจัย ที่มีรูปแบบการบริการรับทำวิจัยไว้รองรับมากมายหลายประเภทตามที่ลูกค้าต้องการ รับทำวิจัยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รับทำวิจัยด่วน งานวิจัยเชิงวิเคราะห์ งานวิจัย 5 บท งานวิจัยเชิงวิชาการ งานวิจัยทั่วไป ในสาขาด้านวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น นิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ บริหารธุรกิจ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ การพัฒนาสังคม และสาขาอื่น ๆ ทุกมหาวิทยาลัยทั้งในและต่างประเทศ 

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ

และ พร้อมบริการรับปรึกษาเกี่ยวกับการทำงานวิจัย เพราะเราเข้าใจถึงปัญหาของลูกค้า ด้วยหลาย ๆ เหตุผลที่ทำให้ไม่สามารถทำงานวิจัยได้ด้วยตนเอง อาทิเช่น ที่ไม่มีเวลา พบปัญหาที่แก้ไขไม่ได้ในงานวิจัย ไม่มีความถนัดในหัวข้องานวิจัยที่ศึกษามากพอ หาแหล่งข้อมูลไม่ได้ 

ซึ่งไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไร ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ ทางบริษัทฯ เรา ยินดีให้คำปรึกษาและบริการรับทำวิจัยในทุกระดับการศึกษา ด้วยทีมงานที่มีความพร้อมมากประสบการณ์ และแหล่งข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าที่เชื่อถือได้

รวมถึงทางบริษัทฯ ยังรับจัดทำเอกสารนำเสนงานในรูปแบบ PowerPoint สำหรับการนำเสนองานวิจัย เพื่อเผยแพร่ในชั้นเรียน หรือนำเสนอในงานสัมมนาวิชาการต่างๆ

ง่ายๆ เพียง 4 ขั้นตอน ในการบริการรับทำวิจัย

ขั้นตอนที่ 1: สิ่งแรกที่ลูกค้าจะต้องเตรียมคือ หัวข้อเรื่องวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย หรือประเด็นสิ่งที่ลูกค้าสนใจและต้องการให้อยู่ในเล่มงานวิจัยของท่านให้กับทางบริษัทฯ เราทราบก่อนเป็นอันดับแรก

ขั้นตอนที่ 2: ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดที่ลูกค้าได้เข้าพูดคุยกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ทางบริษัทฯ ขอเรียนให้ทราบก่อนว่า ที่ทางบริษัทฯ เราต้องขอข้อมูลในเรื่องของรายละเอียดที่ลูกค้าได้เข้าพูดคุยกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย เพราะ ในบางกรณีที่อาจารย์ที่ปรึกษาในบางมหาวิทยาลัยมีเกณฑ์กำหนดเป็นมาตรฐานของตนเอง แต่ส่วนใหญ่จะไม่ต่างไปจากเกณฑ์มาตรฐานที่เป็นสากลสักเท่าไหร่ 

อาจจะมีการปรับเพิ่มหรือลดรายละเอียดบางอย่างลง ก็ต้องขึ้นอยู่กับท่านอาจารย์ของมหาวิทยาลัยที่ลูกค้าศึกษาอยู่ว่าต้องการรูปแบบอย่างไร เพื่อที่ทางบริษัทฯ จะได้ทำงานวิจัยออกมาให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าและท่านอาจารย์มากที่สุด

ขั้นตอนที่ 3: ทางบริษัทฯ จะขอข้อมูลจากลูกค้า นั่นคือการเตรียมคู่มือสำหรับงานวิจัย เพื่อให้ทางบริษัทฯ เราสามารถทำงานวิจัยได้ตรงตามที่ลูกค้าต้องการ เพราะถ้าหากลูกค้าไม่ส่งคู่มือสำหรับการเขียนงานวิจัย ที่ทางอาจารย์ที่ปรึกษาของมหาวิทยาลัยที่ลูกค้าศึกษาอยู่เป็นผู้กำหนดขึ้นให้กับทางบริษัทฯ ทราบ ทางบริษัทฯ เราตั้งแต่แรก อาจจะส่งผลเสียต่อลูกค้าเองที่จะต้องนำงานกลับมาแก้ไขซ้ำไปซ้ำมา ซึ่งทำให้เปลืองค่าใช้จ่ายโดยใช่เหตุ 

และทางบริษัทฯ จะไม่ขอรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นแต่อย่างใด เพราะทางลูกค้าไม่ได้แจ้งให้กับทางบริษัทฯ ทราบก่อนตั้งแต่ทีแรก

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

ขั้นตอนที่ 4: ขั้นตอนสุดท้าย ลูกค้าจะต้องเตรียมรายละเอียดเกี่ยวกับ วันและเวลากำหนดส่งงานวิจัยให้ขัดเจน ต้องขอแจ้งให้ทางลูกค้าทราบก่อนว่า บริษัทฯ เรามีบริการรับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์ การวิเคราะห์สถิติแผนการตลาด แผนธุรกิจ และงานวิจัยอื่นๆ เป็นจำนวนมาก ซึ่งมีการจัดวางระบาบทำงานที่ชัดเจน เพื่อการจัดสรรตารางเวลาในการทำงานทันต่อความต้องการของลูกค้า และผลงานจะต้องมีประสิทธภาพ

เนื่องจากการทำงานวิจัยแต่ละเล่มนั้น ค่อนข้างยุ่งยากและต้องใช้เวลาอย่างมาก ต้องผ่านกระบวนการหลายขั้นตอนในการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งต้องระดมความคิด วางแผน ในการเรียบเรียงเนื้อหา ทำการประมวลผลข้อมูลและสรุปผลทั้งหมด เพื่อให้งานวิจัยเป็นชิ้นงานที่ดี มีคุณภาพ และสมบูรณ์ปบบมากที่สุด

เพราะฉะนั้น ทางบริษัทฯ ต้องจัดสรรตารางเวลาการทำงานให้ดี ซึ่งก็ต้องขอความช่วยเหลือจากทางลูกค้าให้แจ้งกำหนดการส่งงานให้ชัดเจนและรายละเอียดอื่นๆ ที่ท่านต้องการให้ทางบริษัทฯ ทราบ เพื่อบริหารจัดการจัดสรรการทำงานของทางบริษัทฯ ให้ทันต่อกำหนดการส่งงานของลูกค้า และไม่ส่งผลกระทบต่องานที่ทางบริษัทฯ เราได้รับไว้ก่อนแล้ว

ตรงเวลา ไม่ทิ้งงาน ราคายุติธรรม

ทีมงานของบริษัทฯ เรามีประสบการณ์ ถนัดและเชี่ยวชาญ มีความเป็นมืออาชีพ ด้วยการให้บริการมาเป็นระยะนานกว่า 10 ปี ลูกค้าทุกท่านมั่นใจได้ว่างานทุกชิ้น ที่ทางบริษัทฯ เรา รับว่าจ้างทำนั้นจะมีคุณภาพที่สุด และราคายุติธรรม

รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา

เพื่อให้ลูกค้า ไม่ต้องวิตกกังวลว่าจะทำงานวิจัยส่งไม่ทัน โดยเฉพาะลูกค้าที่ต้องทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย หรือมีงานประจำที่ต้องทำตลอดเวลา ให้ได้รับความสะดวกสบายและทำงานประจำ หรือทำงานอย่างอื่นได้โดยที่ไม่ต้องเป็นห่วง ไม่ต้องมานั่งวิตกกังวลในเรื่องของการับจ้างทำงานวิจัยส่ง เพราะทางบริษัทฯ เราจะส่งงานวิจัยให้ลูกค้าตรงเวลานัดหมายอย่างแน่นอน

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638
คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE:
@impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

4 ขั้นตอนง่ายๆ ในการวิเคราะห์สถิติ

ผู้วิจัยมือใหม่ที่ทำงานวิจัยเกี่ยวกับเชิงปริมาณ จำเป็นจะต้องทำการวิเคราะห์สถิติจากข้อมูลแบบสอบถาม โดยใช้โปรแกรมสถิติเพื่อทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่จะใช้ในการวิจัยและทดสอบสมมติฐานการวิจัย

ซึ่งหลายท่านมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับสถิติที่จะใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติไม่เท่ากัน ดังนั้นการที่ใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้องนั้นควรเริ่มต้นอย่างไร เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดได้โดยง่าย

1. ศึกษาตัวอย่างการวิเคราะห์สถิติที่ใช้จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จะทำให้ท่านทราบว่างานวิจัยที่ใกล้เคียงกับหัวข้อที่ท่านทำการศึกษาอยู่นั้นใช้สถิติใดในการวิเคราะห์ และใช้โปรแกรมใดในการวิเคราะห์สถิติ 

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

หากสามารถหาตัวแปรหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ทำการศึกษาได้ ว่างานวิจัยเล่มดังกล่าวนั้นใช้สถิติในการวิเคราะห์ประเภทใด จะทำให้ทราบแนวทางของการใช้สถิติ เพื่อนำมากำหนดสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลของเล่มงานวิจัยของท่านได้

2. ศึกษาคลิปวีดีโอสอนทำจาก YouTube 

หลังจากทำการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการศึกษาแนวทางหรือรูปแบบการใช้สถิติในการวิจัยแล้ว ขั้นตอนต่อไปควรจะต้องกำหนดสถิติใดในที่จะใช้ในการวิเคราะห์หรือทดสอบสมมติฐานการวิจัยสำหรับตัวแปรที่ท่านทำการศึกษาอยู่

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ท่านสามารถพิมพ์ชื่อสถิติดังกล่าวใน YouTube เพื่อค้นหารูปแบบวิธีการทำ เรียนรู้และพัฒนาให้ตนเองดำเนินการวิเคราะห์ได้ตามตัวอย่างที่ทำการศึกษา ซึ่งจะทำให้ท่านป้องกันข้อผิดพลาดในการวิเคราะห์ข้อมูลได้

3. ฝึกฝนทดลองทำ

ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนต่อเนื่องหลังจากการเรียนรู้จาก YouTube ว่ามีกระบวนการเบื้องต้นอย่างไร ต้องใช้สถิติใดในการทดสอบตัวแปรไหนจากเล่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้ว การทดลองทำจะทำให้ท่านทราบว่าเป็นไปได้หรือไม่

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ในการทดสอบตัวแปรด้วยสถิติที่ทำการศึกษาค้นคว้ามา จะทำให้ท่านทราบว่าการทดสอบที่ทำไปนั้นเกิดจุดบกพร่องขึ้นในกระบวนการหรือขั้นตอนใด เพื่อให้ท่านสามารถค้นหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขให้สามารถรันผลสถิติที่ใช้ในการวิจัยได้อย่างตลอดรอดฝั่ง ซึ่งจะเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์เพื่อให้ท่านมีความเชี่ยวชาญในการทดสอบตัวแปรหรือวิเคราะห์ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยมากขึ้น

4. ให้อาจารย์ที่ปรึกษาช่วยตรวจสอบและปรับปรุง

เนื่องจากผู้วิจัยมือใหม่หลายท่านไม่มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติที่ใช้ในการวิจัย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยตรวจสอบและให้คำแนะนำ ท่านจึงจะทราบแนวทางว่าสถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์นั้นถูกต้องหรือไม่ หรือควรแก้ไขปรับปรุงอย่างไร

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

การที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำให้แนวทางแก้ไขจะเป็นประโยชน์ต่อท่านในการที่จะเพิ่มพูนความรู้ที่จะใช้ในการวิเคราะห์สถิติที่ใช้ในการวิจัยให้มากยิ่งขึ้น

หากท่านทราบขั้นตอนที่กล่าวไปทั้งหมดแล้วนั้น ท่านจะทราบว่ากระบวนการทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ท่านสามารถทำการเรียนรู้ได้ ดังนั้นหากท่านเป็นมือใหม่ด้านการวิจัยและไม่รู้ว่าจะทำการศึกษาวิจัยด้วยสถิติใด การประยุกต์ใช้ขั้นตอนทั้งหมดที่ได้กล่าวมากับงานวิจัยของท่านก็จะทำให้งานวิจัยของท่านนั้นสำเร็จไปได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

เหตุผลอะไร ที่คนส่วนใหญ่จึงไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS เป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยความเข้าใจในสถิติพื้นฐาน โดยผู้ที่ใช้โปรแกรม SPSS เป็น ต้องรู้จักและเข้าใจการวิเคราะห์สถิติเบื้องต้นเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย 

ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด เพราะว่าค่าสถิติพื้นฐานจะเป็นการวิเคราะห์เริ่มต้น ที่นำไปสู่การทดสอบสมมติฐาน ตามที่วัตถุประสงค์การวิจัยได้ตั้งไว้

แต่สถิติ ไม่ใช่เรื่องที่ทุกคนจะเข้าใจ ซึ่งแน่นอนที่คุณจะต้องเจอกับตัวเลข เป็นจำนวนมาก หากบางคนไม่มีพื้นฐานทางด้านสถิติ จะทำให้เกิดการเบื่อหน่าย ปวดหัว และมึนงง เนื่องจากตัวเลขดังกล่าวไม่สามารถดูแล้วเข้าใจได้โดยทันที  ดังที่มาร์ยัม เมอร์ซาคานี กล่าวไว้ว่า คณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่องสำหรับทุกคน

ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่คนส่วนใหญ่ไม่อยากจะเสียเวลาเข้าใจโปรแกรม SPSS  บทความนี้จึงจะนำพาคุณมาวิเคราะห์ถึง 3 เหตุผลที่คนส่วนใหญ่ไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง เพื่อประมวลผลการวิจัยเองดังนี้

1. ไม่อยากทำความเข้าใจเกี่ยวเรื่องสถิติ

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS สำหรับงานวิจัย สามารถแยกย่อยออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 

ประเภทที่ 1 สถิติเชิงพรรณา คือ ค่าสถิติพื้นฐานที่ใช้กับข้อมูลง่ายๆ มีวิธีการที่ไม่ยุ่งยาก ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม เป็นต้น

ประเภทที่ 2 สถิติเชิงอนุมาน คือ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน โดยต้องใช้พื้นฐานของสถิติเชิงพรรณามาช่วยในการค้นหาคำตอบข้อเท็จจริงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One Way ANOVA) การวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi-Square) การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Regression)

แค่ทั้ง 2 ประเภทใหญ่ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ก็ยากต่อการเข้าใจแล้ว แต่ที่ยากไปกว่านั้นคือการเลือกใช้สถิติแต่ละตัว ซึ่งผู้วิจัยต้องดูประเภทข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัวด้วยว่า ตัวแปรไหนสามารถนำมาทดสอบสมมติฐานได้บ้าง ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. เลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์ไม่ตรงกับประเภทข้อมูล

คงเป็นเรื่องยาก ที่คุณต้องมานั่งศึกษาใหม่ว่าข้อมูลประเภทไหน สามารถนำไปทดสอบประเภทไหนได้บ้าง ถ้าเปรียบก็คงเหมือนการไปเริ่มเรียน ก-ฮ ใหม่ เพราะว่านอกจากภาระหน้าที่การงานที่ต้องรับผิดชอบแล้ว เรื่องที่ทำให้ปวดหัวอีกเรื่องหนึ่งก็คือ การวิเคราะห์สถิติ 

เพราะ การวิเคราะห์สถิติ นั้นในข้อมูลแต่ละประเภทจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างกันออกไป หากเลือกประเภทข้อมูลในการนำมาวิเคราะห์สถิติผิด โปรแกรมก็จะไม่แสดงผล หรือแสดงผล Error ออกมา ทำให้ผู้วิจัยไม่รู้จะสอบถามใคร ไปต่อไม่ได้

หากผู้วิจัยคนไหนต้องการจะวิเคราะห์ SPSS แปลผลข้อมูลเอง อันดับแรกควรจะทำการศึกษาประเภทของข้อมูลก่อนว่า ข้อมูลแต่ละประเภทเป็นอย่างไร และข้อมูลประเภทไหนใช้กับสถิติอะไรได้บ้าง 

3. ไม่เข้าใจการทดสอบสมมติฐาน

จากการที่ไม่เข้าใจการเลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์กับประเภทข้อมูลแต่ละประเภท ทำให้ผลโปรแกรมวิเคราะห์ SPSS ออกมา  Error คนส่วนใหญ่จึงไม่รู้จะทำอะไรต่อ และไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร ส่งผลให้ทดสอบสมมติฐานไม่ได้ด้วยเช่นกัน 

ยกตัวอย่าง สถานการณ์ที่เจอปัญหา ดังเช่น ข้อคำตอบไหนที่มีกลุ่มตัวอย่างตอบเพียงคนเดียว ผลการทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA จะออกมา Error ดูจากรูปจะพบว่า มีกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 50 ปีขั้นไป เพียงแค่ 1 ท่าน ที่มีการตัดสินใจเล่นกีฬา เมื่อนำมาวิเคราะห์ One Way ANOVA ผลตารางของ Post hoc จะไม่ออก 

ดังนั้นถ้าผลออกมาว่าอายุเป็นตัวแปรที่ส่งผลทำให้กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจเล่นกีฬา จะไม่สามารถตอบได้ว่ากลุ่มอายุไหนบ้างที่ตัดสินใจเล่นกีฬา แล้วกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุไหนเล่นกีฬาอะไรบ้าง 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

จาก 3 เหตุผลดังกล่าวก็ทำให้หลายท่านตอบคำถามตัวเองได้แล้วว่า เราควรเสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง หรือไม่ หากเจอปัญหา ผลโปรแกรม Error จะแก้ไขปัญหาเองได้หรือไม่ เมื่อได้คำตอบนั้นแล้วลองปรึกษาบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านสถิติ เพื่อขอคำแนะนำและทำให้การทำงานวิจัยของคุณให้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย ไม่ยากอย่างที่คิด!

แบบสอบถามงานวิจัย เป็นเครื่องมือการวิจัยอย่างหนึ่ง ที่ประกอบไปด้วยชุดคำถาม ที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความรู้สึก ความเชื่อ และความสนใจต่างๆ ที่เตรียมไว้สำหรับให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้เลือกตอบหรือเติมคำ เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย 

ซึ่งการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยนั้น ข้อคำถามจะถูกสร้างขึ้นจากกรอบแนวความคิดทฤษฎีของตัวแปรที่ต้องการศึกษา หรือต้องการวัด ซึ่งข้อคำถามที่ใช้ถาม ต้องมีเหมาะสมกับประเด็นที่จะวัด โดยจะมีหลักการในการสร้างเพื่อตามขั้นตอนดังนี้

1. พิจารณาหัวข้อปัญหาและวัตถุประสงค์

ในปัจจุบันพบว่า มีหลายงานวิจัยที่ไม่สามารถเลือกใช้แบบสอบถามได้อย่างเหมาะสมกับงานวิจัยของตนเองได้ เนื่องจากตั้งคำถามไม่ตรงกับลักษณะ หรือพฤติกรรม ของผู้ตอบแบบสอบถามจึงทำให้ ผลการวิจัยที่ออกมาไม่ตอบกับวัตถุประสงค์การวิจัยที่ตั้งไว้ ดังนั้นการทราบปัญหาการวิจัย และการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่ชัดเจน ถือเป็นเข็มทิศในการเดินทาง ที่จะทำให้ทราบจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยเลยทีเดียว 

ก่อนอื่นคุณต้องทราบปัญหาของงานวิจัยก่อน ว่างานวิจัยที่ทำอยู่นั้นมีปัญหาอะไร? 

ตัวอย่างเช่น บริษัทหนึ่งพนักงานไม่มีแรงจูงใจในการทำงาน พนักงานจึงมีการขาด ลา และมาสาย อยู่เป็นประจำ ทำให้งานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จากปัญหาดังกล่าวอาจเป็นเพราะปัจจัยต่างๆ เช่น พนักงานรู้สึกว่าตนเองได้รับค่าจ้างที่ไม่คุ้มค่ากับงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อนร่วมงานไม่ดี หรือไม่มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทแห่งนี้ 

จึงตั้งวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาสาเหตุการขาด ลา และมาสายของพนักงาน และศึกษาปัจจัยที่เป็นแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทดังกล่าว 

ดังนั้นสิ่งที่ผู้วิจัยจะต้องศึกษาเพื่อที่จะสร้างแบบสอบถามงานวิจัย โดยจะต้องศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการทำงาน ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวสามารถนำทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Clayton Alderfer ที่ได้พัฒนามาจากทฤษฎีความต้องการ Maslow มาปรับใช้ได้ ซึ่งจะกล่าวถึงวิธีพิจารณารูปแบบการตั้งคำถามในขั้นตอนต่อไป

2. พิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้

ในการพิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้ คุณสามารถหยิบยกข้อคำถามจากการศึกษาแนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ได้ เช่น ทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Alderfer สรุปว่า ความต้องการของมนุษย์สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่

E ตัวแรกคือ ความต้องการเพื่อการดำรงชีวิต (Existence needs = E) เป็นความต้องการจาก ค่าจ้างเงินโบนัส และผลประโยชน์ตอบแทน ตลอดจนสภาพการทำงานที่ดี ดังนั้นข้อคำถามที่ควรตั้ง อาจจะเป็นการสอบถาม ความพอใจที่ได้รับค่าจ้างหรือโบนัสสิ้นปี หรือสภาพการทำงานที่ได้รับว่าเหมาะกับค่าจ้างหรือไม่ เป็นต้น

R ตัวที่สองคือ ความต้องการทางด้านความสัมพันธ์ (Relatedness needs = R) เป็นความต้องการทางสังคมที่ต้องการการยอมรับจากหัวหน้า เพื่อนร่วมงาน ซึ่งข้อคำถามที่ควรตั้งเช่น ท่านสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมได้เป็นอย่างดีหรือไม่ หรือท่านได้รับการยกย่องจากหัวหน้าเมื่อทำงานได้สำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นต้น

G ตัวที่สามคือความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth needs = G) เป็นความต้องการเติบโตจากหน้าที่การงาน ข้อคำถามที่ควรตั้ง เช่น ท่านได้รับพิจารณาการเลื่อนตำแหน่งอยู่เสมอ เป็นต้น

ซึ่งทฤษฎีดังกล่าว ผู้วิจัยสามารถนำทฤษฎีมาปรับใช้เป็นแนวทางในการตั้งข้อคำถาม เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขปัญหาวิจัยได้ ซึ่งข้อคำถามที่ตั้งนั้น ควรสอบถามเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงระดับความคิดเห็น หรือเรียกว่าข้อคำถามแบบมาตรวัด scale ซึ่ง

5 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมากที่สุด 
4 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมาก
3 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นปานกลาง
2 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อย
1 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อยที่สุด 

3. ร่างแบบสอบถาม

เมื่อได้ข้อคำถามที่สอบถามแล้ว ผู้วิจัยต้องทำการรวบรวมคำถามโดยแบ่ง เป็นด้านตามแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ศึกษา ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยอาจจะร่างข้อคำถามในกระดาษ หรือสร้างข้อคำถามในโปรแกรม Word เลยก็ได้เช่นกัน

4. ตรวจสอบแบบสอบถาม

เมื่อร่างข้อคำถามเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยควรตรวจทานข้อคำถามก่อนว่าอ่านรู้เรื่องหรือไม่ มีคำผิดหรือไม่ แล้วข้อคำถามสอดคล้องกับสถานการณ์จริงหรือไม่ หากตรวจทานดูแล้วควรส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความคล้องอย่างน้อย 3 ท่าน เพื่อนำข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงข้อคำถามต่อไป 

ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า วิธีการทำ IOC ในการทดสอบนี้หากคะแนนของผู้เชี่ยวชาญที่ให้คะแนนแต่ละข้อคำถามรวมกัน หารจำนวนผู้เชี่ยวชาญ แล้วได้ค่าคะแนนแต่ละข้อมากกว่า 0.5 จึงถือว่าผ่าน สามารถนำไปทดสอบแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาได้

5. ทำการทดลองแบบสอบถาม (Try-out)

เมื่อตรวจสอบแบบสอบถามเสร็จแล้ว การทำการทดลองแบบสอบถามถือเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัย จะต้องทำอีกกระบวนการหนึ่ง เพื่อให้ทราบถึงความชัดเจนในทุกๆ ด้านของข้อคำถาม หากข้อคำถามมีความชัดเจน ผู้ตอบแบบสอบถามที่อ่านจะเข้าใจตรงกัน เนื่องจากแบบสอบถามมีการใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย รัดกุม ไม่มีความบกพร่องทางภาษา ทำให้การตรวจให้คะแนนมีเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน 

ซึ่งวิธีการดังกล่าวเรียกว่า วิธีการ Try-out เป็นการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาประมาณ 30 คน ในการทดสอบครั้งนี้ 

หากคำตอบของกลุ่มตัวอย่างทุกคนมีการแปลความหมายมาแล้วว่ามีความสอดคล้องกัน จะต้องมีค่าคะแนนของค่า Reliability มากกว่า 0.7 ขึ้นไป จะทำให้การ Try-out ในครั้งนี้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะสามารถนำแบบสอบถามนี้ไปสร้างเป็นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ได้ 

หากค่าคะแนนของค่า Reliability น้อยกว่า 0.7 อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจนหรือยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ ควรต้องมีการแก้ไขแล้วปรับปรุงในส่วนที่ยังมีข้อบกพร่องต่อไป

6. ปรับปรุงแบบสอบถาม

เมื่อทราบค่าคะแนนของค่า Reliability ว่าน้อยกว่า 0.7 ผู้วิจัยควรดูข้อเสนอแนะที่ผู้ตอบแบบสอบถามได้เสนอไว้ และนำมาปรับปรุง ซึ่งสาเหตุที่ทำให้ค่า Reliability น้อยกว่าเกณฑ์อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจน ยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามก็เป็นได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงควรแก้ไข ปรับปรุงข้อคำถามใหม่ และนำไป Try-out อีกครั้ง 

7. สร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์

เมื่อแบบสอบถามผ่านเกณฑ์ ผู้วิจัยสามารถสร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ และนำไปสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างได้ทันที

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัยข้อคำถามจะดีหรือไม่ดีนั้น ขึ้นอยู่ว่าคุณตั้งคำถามได้ตรงจุดหรือไม่ หากคุณตั้งคำถามที่ยากเกินไป หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบ จะทำให้ผู้ตอบไม่อยากตอบ เพราะไม่เข้าใจ ในขณะเดียวกันหากข้อคำถามมีปริมาณข้อคำถามที่เยอะเกินไป จนทำให้สร้างความกังวลใจกับผู้ตอบ จะส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบ ซึ่งเป็นผลเสียกับคุณเอง ทำให้ไม่ได้คำตอบที่แท้จริงในการแก้ไขปัญหานั้นๆ 

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

งานวิจัยที่ใช้สถิติ T-test คืออะไร ทำอย่างไรบ้าง

สถิติ T-test เป็นสถิตที่ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน และสัมพันธ์กัน ซึ่ง สถิติ T-test ที่ใช้ในงานวิจัยมี 3 แบบ แต่ละแบบใช้งานแตกต่างกันออกไป ดังนี้

1. One sample T-test 

ใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่น้อยกว่า 30 คน ส่วนใหญ่ใช้ในงานวิจัย สายวิทยาศาสตร์ 

ตัวอย่างเช่น ต้องการทราบสารประกอบที่อยู่ในทองคำน้ำหนัก 1 บาท จากการวัดทั้ง 10 ครั้ง พบว่า ผู้วิจัยสามารถวัดได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จากตามทฤษฎีสารประกอบที่อยู่ในทองคำ เมื่อรวมกันแล้วทองคำ 1 บาท ต้องมีน้ำหนัก 15.2 กรัม ดังนั้น สถิติ One sample T- test จะสามารถตัดสินใจได้ว่าน้ำหนักของสารประกอบที่อยู่ในทองจะแตกต่างไปจาก 15.2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ เป็นต้น

ดังนั้นสูตรของ One sample T- test จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

2. T-test Independent

ใช้กับงานวิจัยเชิงปริมาณที่มีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ส่วนใหญ่ใช้ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน 

ตัวอย่างเช่น กลุ่มผู้บริโภคที่มีเพศ ต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพต่างกัน ซึ่ง

เพศชาย จะแทนค่าด้วย 1

เพศหญิง จะแทนค่าด้วย 2

หากทั้ง 2 เพศที่เป็นอิสระต่อกันจะมีตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพที่ต่างกันหรือไม่นั้น จะทราบได้ก็ต่อเมื่อผลค่า Sig. ที่วิเคราะห์ออกมาต่ำกว่า 0.05 ถือว่า มีการซื้ออาหารสุขภาพที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และจะสามารถรู้ได้อีกว่าเพศไหนมีการตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพมากกว่ากัน

ดังนั้น สูตรของ T-test Independent จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

3. Paired Sample T-test

ใช้กับงานวิจัยเชิงทดลอง ส่วนใหญ่ใช้ในงานวิจัยของครู ที่ต้องทำการทดลองผลคะแนนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทั้งก่อนเรียน และหลังเรียน ว่ามีผลคะแนนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ เมื่อได้เรียนตามแผนการเรียนที่ครูพัฒนาขึ้น 

ตัวอย่างเช่น ผลคะแนนที่นักเรียนได้ทั้งก่อนและหลังการเรียน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน นักเรียนสอบได้คะแนนดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จากผลคะแนนถ้าหลังเรียน นักเรียนมีการสอบแล้วได้คะแนนดีขึ้นแสดงว่า แผนการเรียนการสอนที่ครูพัฒนาขึ้นมา ทำได้นักเรียนได้รับความรู้ สนุก จนทำให้ตั้งใจเรียนมากขึ้น ส่งผลให้ผลการเรียนดีขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินั่น

ดังนั้น สูตรของ Paired Sample T-test จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จะเห็นได้ว่าสถิติ T-test มีการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งผู้วิจัยควรจะเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานวิจัยของคุณถึงจะได้คำตอบที่ถูกต้อง และนำผลวิจัยไปต่อยอดในงานอื่นต่อไป

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท

นอกเหนือจากการรับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ หรือรับทำดุษฎีนิพนธ์ แบบครอบวงจร ทางบริษัทฯ เรายังมีบริการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม ไว้รองรับและอำนวยความสะดวกสบายให้แก่ผู้วิจัยอีกทางหนึ่ง

เพราะแบบสอบถามเป็นหนึ่งในเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) ซึ่งการจะนำข้อมูลมาวิเคราะห์ผลการศึกษาได้นั้น ต้องแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตัวเลขเสียก่อน ถึงจะนำมาวิเคราะห์ผลได้  ซึ่งข้อมูลตัวเลขนั้นอาจจะเป็นค่าที่ต่อเนื่อง ค่าจำนวนเต็ม หรือเป็นค่าจำนวนนับก็ได้ แล้วแต่การออกแบบแบบสอบถามของผู้วิจัย 

เช่น จุดทศนิยม น้ำหนัก ส่วนสูง เพศ อายุ สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน หรือแม้กระทั่งการแสดงความคิดเห็นในระดับต่างๆ ที่ผู้วิจัยมักเห็นอยู่เป็นประจำ ได้แก่ ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ระดับความคิดเห็นมาก ระดับความคิดเห็นปานกลาง ระดับความคิดเห็นน้อย ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด หรือบางงานวิจัยอาจจะมากกว่า 5 ระดับความคิดเห็น

และ หนึ่งในบริการของบริษัทฯ คือการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถามดังกล่าว ซึ่งหากผู้วิจัยไม่มีความชำนาญ หรือมีภาระงานที่ต้องรับผิดรับชอบอาจจะทำให้คีย์ข้อมูลได้ช้า และผิดพลาดได้ 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

ทางบริษัทฯ จึงมีบริการส่วนนี้ไว้คอยรองรับและดูแลท่านในส่วนนี้ เนื่องจากเรามีความเชี่ยวชาญและความชำนาญ ถือว่าเป็นบริการเสริมเพื่อทำให้งานวิจัยของท่านเสร็จได้อย่างรวดเร็วที่สุด ทันตามกำหนดเวลาที่จะส่งงานขึ้นสอน 

โดยผู้วิจัยที่สนใจในการใช้บริการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถามกับทางบริษัทฯ สามารถใช้บริการกับเราได้โดยติดต่อเข้ามาทางไลน์ที่ขึ้นด้านบน เมื่อตกลงรับงานท่านสามารถส่งแบบสอบถามมาให้เราทาง EMS เรามีทีมงานไว้คอยคีย์ข้อมูลตรงส่วนนี้ให้กับท่าน 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

ดังนั้นสิ่งที่ท่านจะได้จากการนำแบบสอบถามมาคีย์ข้อมูลกับบริษัทฯ ทางทีมงานจะสำรองข้อมูลของท่านใส่ลงใน Excel เพื่อส่งให้กับท่านทางอีเมล ในการนำส่งอาจารย์ 

หรือหากท่านจะทำบท 4-5 ต่อเพื่อวิเคราะห์ผล สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอในงานวิจัย บริษัทฯ มีบริการส่วนนี้เพิ่มเติม บริษัทฯ สามารถนำข้อมูลส่วนนี้ไปวิเคราะห์ต่อได้เลยตามที่ท่านต้องการโดยไม่เสียเวลา และท่านจะได้รับงานเสร็จเร็ว ตรงเวลา แน่นอน

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com

3 เทคนิคการออกแบบ แบบสอบถามลักษณะที่ดี!

การออกแบบ แบบสอบถามที่ดีได้นั้น นอกจากคุณจะได้คำตอบที่ตอบวัตถุประสงค์การวิจัยแล้ว ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ยังสามารถทราบพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามได้อย่างชัดเจนขึ้น และนำผลการศึกษาไปปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ หรือเป็นแนวทางในการทำการตลาดได้อีกด้วย

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com

ด้วยเหตุนี้ ลักษณะแบบสอบถามที่ดีสามารถทำให้ผู้ตอบแบบสอบถามเข้าใจได้ง่าย และผู้วิจัยได้คำตอบที่ตรงกับคำถาม จะต้องการออกแบบ แบบสอบถามให้มีลักษณะ ดังนี้

1. ข้อคำถามต้องกระชับเข้าใจง่าย

ในการตั้งคำถามนั้น ข้อคำถามที่ดีผู้อ่านต้องอ่านแล้วเข้าใจได้เลย ซึ่งนี่ถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่งของนักวิจัย ในการตั้งคำถาม เพราะคำถามที่ตั้งมานั้นจะต้องชัดเจน ไม่ถามกว้างเกินไป และไม่กำกวม เพราะจะทำให้ผู้ตอบเข้าใจผิด ส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบก็เป็นได้ 

เช่น ต้องการจะสอบถามพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง ว่ามีปัจจัยใดบ้างที่จะเป็นแรงผลักดันให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น 

ซึ่งแรงจูงใจในการทำงานตามหลักทฤษฎีของ Herzberg ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยค้ำจุน และปัจจัยจูงใจ เป็นทฤษฎีที่สามารถจัดองค์ประกอบแรงจูงใจได้อย่างชัดเจนและครอบคลุมที่สุด เมื่อพนักงานเกิดความพึงพอใจในปัจจัย ต่างๆ เหล่านี้ ก็จะทำให้พวกเขาเกิดความตั้งใจและมุ่งมั่น เพื่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของบริษัทได้เป็นอย่างดี 

ดังนั้นผู้วิจัยอาจจะทำการตั้งคำถาม สอบถามพนักงานว่า 
– เงินเดือนที่ท่านได้รับเหมาะสมกับตำแหน่งงานที่ท่านได้รับหรือไม่? 
– บริษัทของท่านสนับสนุนให้ท่านแสดงออกความคิดเพื่อแก้ไขปัญหางานสำคัญหรือไม่? 
– หรือหัวหน้างานของท่านมีความยุติธรรมกับลูกน้องใต้บังคับชาหรือไม่? เป็นต้น 

จึงกล่าวได้ว่าหลักการตั้งคำถามที่ดีนั้น จะต้องสรุปได้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน และอย่างไร ถึงจะเป็นลักษณะคำถามที่ดี แต่จะมีนักวิจัยสักกี่คนที่ทำได้ดี เพราะการตั้งคำถามถือได้ว่าเป็นการศิลปะผสมกับจิตวิทยา โดยจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. คำถามต้องตรงกับสถานการณ์ที่ผู้ตอบแบบสอบถามพบเจอ

ในการตั้งคำถามที่ดีนั้น จากโจทย์ข้างต้น หากตั้งคำถามที่ไม่ตรงกับสถานการณ์ที่พนักงานพบเจอผู้วิจัยจะไม่ได้คำตอบที่ชัดเจนเลย ผู้วิจัยควรศึกษาก่อนว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นใคร ทำงานลักษณะไหน และบรรยากาศการทำงานเป็นอย่างไร หรืออาจจะต้องศึกษาเพิ่มเติมว่าบริษัทที่พนักงานทำงานอยู่นั้นขายผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะเข้าใจพฤติกรรมของเขาและตั้งคำถามให้ตรงกับสถานการณ์ที่พนักงานพบเจอ 

3. จำนวนหน้าของแบบสอบถามไม่เยอะจนเกินไป

ในจำนวนหน้าของแบบสอบถามหากเยอะเกินไป ผู้ตอบแบบสอบถามจะรู้สึกว่าเสียเวลา และเบื่อหน่าย จนทำให้ผลของข้อมูลที่ได้ไม่น่าเชื่อถือและน่าไว้วางใจ เพราะการตอบแบบสอบถามแต่ละครั้งส่วนใหญ่จะใช้เวลาประมาณ 20-25 นาที 

ดังนั้นจำนวนหน้าของแบบสอบถามที่เหมาะสมจึงไม่ควรเกิน 3 – 4 หน้ากระดาษ A4 หากจำนวนหน้าเยอะมากกว่านี้ ควรพิจารณาขอบข่ายการวิจัยหากข้อคำถามใดไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยจริงๆ ควรตัดรายการข้อคำถามทิ้ง ฉะนั้นผู้วิจัยจึงควรร่วมกันพิจารณาเรื่องเหล่านี้ด้วย

เมื่อทำการออกแบบ แบบสอบถามออกมาสมบูรณ์แล้วผู้วิจัยควรให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ว่ามีคำถามใดบ้างที่ควรแก้ไขให้ถูกต้องตามทฤษฎีหรือไม่ รวมทั้งตรวจดูว่าข้อคำถามดังกล่าวยากเกินไปสำหรับผู้ตอบระดับนี้หรือไม่ และเหมาะสมเพียงไร มีลักษณะเป็นคำถามชี้นำหรือไม่ 

อีกทั้งยังควรพิจารณาตรวจสอบด้วยข้อข้อคำถามนี้จะได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง ถ้าไม่ถามจะขาดประโยชน์อย่างไรบ้าง รวมถึงตรวจดูการจัดหน้า เว้นวรรค และตัวสะกดการันต์ว่าถูกต้อง และเหมาะสมแล้วหรือไม่ เป็นต้น

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_การวิเคราะห์ ANOVA

5 ขั้นตอนกับการวิเคราะห์ ANOVA

การวิเคราะห์ ANOVA คือ เทคนิคการวิเคราะห์ที่ใช้ทดสอบสมมติฐานของตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ขึ้นไป ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ในการวิเคราะห์วิจัยเชิงปริมาณ 

บทความนี้จึงจะนำคุณมาสู่ 5 ขั้นตอนในการเริ่มต้นวิเคราะห์ ANOVA ดังนี้

1. การตั้งสมมติฐาน

การตั้งสมมติฐานเป็นส่วนหนึ่งของการอธิบายผลที่ต้องการจะศึกษา เนื่องมาจากการตั้งสมมติฐานต้องคาดคะเนคำตอบ อย่างมีเหตุมีผล โดยจะต้อง ระบุให้ชัดเจนว่าอะไรสัมพันธ์กับอะไร สัมพันธ์กันอย่างไร หรืออะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล เนื่องจากสมมติฐานเป็นข้อยืนยัน เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือเกินกว่านั้น ดังนั้นการวิเคราะห์ ANOVA จึงมีสูตรการตั้งสมมติฐานดังนี้

ตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน

– ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด แตกต่างกัน สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้

H0 : ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด  
H1 : ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ไม่ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด  

– อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้

H0 : อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน
H1 : อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม ไม่แตกต่างกัน

2. กำหนดระดับนัยสำคัญ

เมื่อตั้งสมมติฐานได้แล้ว  สิ่งที่จะสามารถบอกถึงความเป็นไปได้ของผลที่กำลังศึกษาได้ ก็คือระดับนัยสำคัญถ้าสมมติฐานหลักเป็นความจริง ระดับนัยสำคัญมักมีค่าน้อยกว่า 0.05 เสมอ

ดังนั้นระดับนัยสำคัญ มักตั้งไว้ที่ 0.05 ซึ่งหมายถึง ความเป็นไปได้ของข้อมูลที่จะเป็นความจริง หากระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.01 นั่นหมายความว่า ความเป็นไปได้ของข้อมูลที่จะเป็นความจริงมีมากขึ้น นั่นเอง

แต่กระนั้นระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ถือว่าเป็นสิ่งที่สามารถยอมรับได้แล้ว

3. เลือกวิธีการทางสถิติ

ต่อมาคุณจะต้องเลือกวิธีการสถิติเพื่อทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยส่วนใหญ่จะใช้การเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison test) ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) หรือการทดสอบ HSD ของทูกีย์ (Tukey’s HSD test) หรือ วิธีของนิวแมนคูลส์ (Newman Keuls method) 

ซึ่งเคยกล่าวไว้ในบทความก่อนหน้านี้ ซึ่งการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ที่นิยมมากที่สุดก็คือ วิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) นั่นเอง 

4. หาค่า Sig. หรือค่า P-Value

ค่า Sig. หรือบางมหาลัยเรียก ค่า P-Value เป็นตัวเลขที่จะบอกว่าตัวแปรต้นส่งผลต่อตัวแปรตามหรือไม่ หากค่า Sig. ต่ำกว่า 0.05 แสดงว่าตัวแปรต้นส่งผลต่อตัวแปรตาม ตรงกันข้าม หากค่า Sig. มากกว่า 0.05 แสดงว่า ตัวแปรต้นไม่ส่งผลต่อตัวแปรตามเช่นกัน ซึ่งผลการวิเคราะห์สามารถศึกษาได้จากหัวข้อต่อไป

5. วิเคราะห์ผลและสรุป

จากตัวอย่างการตั้งสมมติฐานข้างต้น สามารถวิเคราะห์ผลและสรุปผลได้ดังนี้

– ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด แตกต่างกัน

หากค่า Sig. มีระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน H0 ปฏิเสธสมมติฐาน H1 นั่นหมายความว่า ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

– อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน

หากค่า Sig. มีระดับนัยสำคัญมากกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน H1 ปฏิเสธสมมติฐาน H0 นั่นหมายความว่า อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม ไม่แตกต่างกัน 

จะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์ ANOVA คงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปหากคุณได้เทคนิคดีๆ จากบริษัทเรา

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม

ข้อคำถามเด็ดโดนใจ ในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ

แบบสอบถามความพึงพอใจ ส่วนใหญ่เป็นการสอบถามพฤติกรรมของผู้บริโภค ว่ามีการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างไร มีการสืบค้นข้อมูลในการซื้อผลิตภัณฑ์อย่างไร มีความถี่ในการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างไร และใครเป็นผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์นั้น 

เนื่องจากทุกๆ พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสาร สังคม หรือเทคโนโลยี ในปัจจุบันจะส่งผลให้เกิดความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ทั้งสิ้น

ดังนั้น ผู้ประกอบการหรือผู้วิจัยหลายท่านจึงต้องวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อทราบความพึงพอใจในการนำข้อมูลมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุด 

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม

ทฤษฎี 6W1H เป็นหนึ่งในการนำมาวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภค ในบทความนี้ เราจะนำคุณไปสู่การตั้งข้อคำถามเด็ดโดนใจ ตามทฤษฎีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ โดยใช้ทฤษฎี  6W1H ซึ่งจะต้องถามด้วยคำถามต่อไปนี้

1. Who

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคจริงๆ ของธุรกิจคือใคร เช่น

– ท่านมีเพศอะไร?
– ท่านมีอายุอยู่ในเจนเนอเรชั่นไหน?
– ท่านทำอาชีพอะไร?
– ท่านมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่าไร?
– ท่านจบการศึกษาชั้นไหน?

2. What 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าอะไรคือสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ เช่น

– ท่านชอบใส่ชุดออกกำลังกายยี่ห้ออะไร?
– สื่อสังคมออนไลน์ใด ที่ทำให้ท่านได้ข้อมูลในการตัดสินใจซื้อสินค้า?
– ท่านใส่เสื้อผ้าไซต์อะไร?
– ท่านชอบใส่เสื้อผ้าสไตส์ไหน?
– ท่านชอบชุดออกกำลัยกายที่มีลักษณะอย่างไร?

3. Where 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคซื้อสินค้าของเราจากที่ไหนบ้าง เช่น

– ท่านซื้ออาหารที่ไหนบ้าง?
– ท่านออกกำลังกายที่ไหน?
– ท่านชอบช้อปปิ้งห้างไหน?
– ท่านอยากไปฮันนีมูนที่ไหน?
– ท่านชอบไปเที่ยวประเทศไหน?

4. When 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าส่วนใหญ่ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าของเราเมื่อไหร่ เวลาไหน เช่น

– ท่านใช้บริการ FOOD PANDA ในการสั่งซื้ออาหารส่วนใหญ่เวลากี่โมง?
– ท่านซื้อสินค้าออนไลน์เวลาไหน?
– ท่านเข้างานเวลากี่โมง?
– ท่านเลิกงานเวลากี่โมง?
– ท่าน ดู YouTube เวลาไหน?

5. Why 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าทำไมผู้บริโภคถึงตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการ เช่น

– เหตุใดท่านถึงชอบซื้อสินค้าออนไลน์?
– ทำไมท่านถึงเลือกซื้อหมอนยางพารา?
– ทำไมท่านเลือกใช้บริการธนาคารกสิกรไทย?
– ทำไมท่านถึงเลือกให้บุตรหลานเรียนภาษาจีนเพิ่มเติม?
– ทำไมท่านถึงเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่น LAZADA?

6. Whom 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าใครมีอิทธิพลในการตัดสินใจในการซื้อ ของผู้บริโภคบ้าง เช่น

– ใครที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าของท่าน?
– ใครที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจให้ท่านอ่านหนังสือ?
– ใครที่มีอิทธิพลในการทำช่อง YouTube ของท่าน?
– ท่านมีแบบอย่างมาจากใครในการใช้ชีวิต?
– ใครเป็นแรงบันดาลใจในการทำธุรกิจจองท่าน?

7. How 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคซื้อสินค้าอย่างไรบ้าง เช่น

– ท่านซื้อสินออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นใดบ้าง?
– ส่วนใหญ่ท่านเรียกแท็กซี่ผ่านแอพพลิเคชั่น Grab อย่างไร?
– ท่านซื้ออาหารสุขภาพอย่างไร?
– ท่านเลือกชำระสินค้าอย่างไรในการซื้อสินค้าออนไลน์?
– ก่อนซื้อตั๋วเครื่องบินท่านหาข้อมูลอย่างไรบ้าง

จากข้อคำถาม 6W1H คุณจะรู้ได้เลยว่า ผู้บริโภคคือใคร ซื้อสินค้าอะไรบ้าง ซื้อจากที่ไหนบ้าง ซื้อเมื่อไหร่ ทำไมถึงซื้อ ตัดสิใจซื้อจากใคร และซื้ออย่างไร

ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ สำหรับผู้ประกอบการทั้งหลายที่จะทราบว่าพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าของท่านมีลักษณะอย่างไร เพื่อที่จะได้ทำการตลาดให้ตอบสนองความพึงพอใจผู้บริโภคให้ได้มากที่สุด 

ดังคำสุภาษิตที่ว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง”

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA

ระหว่างกลุ่ม กับ ภายในกลุ่ม สำหรับการวิเคราะห์ ANOVA คืออะไร?

การวิเคราะห์ ANOVA นั้น คือการเปรียบเทียบตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่มดังนั้นการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรหลายๆ กลุ่ม จึงมีความแปรปรวนที่ต้องคำนวณอยู่ 2 ตัว คือ ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม และความแปรปรวนภายในกลุ่ม

หลักในการทดสอบความแปรปรวนของ ANOVA จึงแบ่งความแปรปรวนของข้อมูลออกตามสาเหตุที่ทำให้ข้อมูลนั้นแตกต่างกัน จึงมีสูตรว่า

ความแปรปรวนทั้งหมด = ความแปรปรวนภายในกลุ่ม + ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม

ดังนั้นความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม กับภายในกลุ่มจึงแตกต่างกันดังนี้

1. ระหว่างกลุ่ม (Between groups) 

เป็นความแปรปรวนที่สามารถอธิบายได้ด้วยตัวแปรที่ศึกษา เช่น อายุ สถานภาพ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ เป็นต้น หากความแปรปวนระหว่างกลุ่ม มีค่าเฉลี่ยของกลุ่มต่างๆ สูง สังเกตุที่ค่า  Mean Square (MS) แสดงว่าแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันมาก

2. ภายในกลุ่ม (Within groups) 

เป็นความแปรปรวนตามธรรมชาติที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยตัวแปรใดๆ หากมีค่าเฉลี่ยน้อย แสดงว่า ข้อมูลมีความกระจุกตัว หากมีค่าเฉลี่ยสูงแสดงว่าข้อมูลในกลุ่มมีการกระจายตัวมาก หรืออาจจะหมายถึงค่าข้อมูลที่มีความคลาดเคลื่อนมากเช่นกัน

ตัวอย่างเช่น กลุ่มอายุใด ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่น?

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

จากรูปจะเห็นได้ว่า โจทย์ต้องการทราบว่า กลุ่มอายุไหนที่ส่งผลต่อความแปรปรวนในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่น 

ดังนั้น ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม จะตอบได้ว่าในแต่ละช่วงอายุ มีการตัดสินใจซื้อเสื้อแฟชั่น จำนวนเท่าไหร่

ส่วน ความแปรปรวนภายในกลุ่ม จะตอบได้ว่า กลุ่มอายุใดมีการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นแบบกระจุกตัวหรือกระจายตัว หากการตัดสินใจเป็นแบบกระจุกตัว สิ่งนี้จะทำให้ผู้วิจัยทราบว่าสินค้านั้นอาจจะเป็นสินค้าที่กำลังมีกระแสอยู่ ณ ตอนนั้น 

เช่น กระแสเสื้อผ้าแฟชั่นที่วง K-POP ใส่อยู่ โดยกลุ่มผู้บริโภคดังกล่าว จะมีการตัดสินใจไปในแนวทางเดียวกัน หากการตัดสินใจซื้อ มีการตอบแบบกระจายตัว เช่นตอบมากที่สุดบ้าง มากบ้าง ปานกลางบ้าง น้อยบ้าง แสดงว่าการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นนั้น อาจจะเป็นสินค้าเฉพาะกลุ่ม เช่น เสื้อผ้าแนวโบฮีเมียน ซึ่งการตัดสินใจจะขึ้นอยู่ความชอบของแต่ละคน

จากข้อมูลดังกล่าวผู้ประกอบการจะได้ประโยชน์เป็นอย่างมาก ในการทำการตลาดให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย ตามคำกล่าวที่ว่า “น้ำขึ้นให้รีบตัก” หากสินค้าแฟชั่นใดมีการตัดสินใจแบบกระจุกตัว แสดงว่าสินค้านั้นกำลังได้รับความนิยมต้องรีบทำการตลาด เพื่อให้สินค้าปล่อยออกได้เร็วที่สุด เพราะสินค้าดังกล่าวมาตามกระแส มาเร็วและไปเร็ว 

ดังนั้นความแตกต่างของระหว่างกลุ่มกับภายในกลุ่มจึงแตกต่างกันแต่ 2 กระบวนการต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้คำตอบ นั่นเอง

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

โปรแกรม SPSS_SPSS_ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

5 กฎข้อห้ามของ SPSS ที่หลายคนยังไม่รู้!

ในโปรแกรม SPSS มีกฎมากมายที่หลายยังไม่รู้ซ่อนอยู่ หากคุณเป็นมือใหม่ที่เพิ่งเริ่มใช้ SPSS แน่นอนคุณอาจจะไม่มีทางรู้เลยว่ามีกฎนี้อยู่ด้วย 

ในบทความนี้ทางเราได้หยิบยก กฎข้อห้ามบางส่วน 5 ข้อจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านสถิติ ที่คุณต้องพบเจอหากเป็นมือใหม่ที่ไม่เคยใช้โปรแกรม SPSS มาก่อน เพื่อเวลาเปิดใช้จะได้ไม่พบเจอปัญหา Eror หรือเปิดไฟล์ไม่ได้ 

1. คุณจะเปิดไฟล์นามสกุล .sav และ .spv ไม่ได้ถ้าเครื่องของคุณยังไม่ได้ลงโปรแกรม SPSS

รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ถ้าคุณเปิดมาเจอบทความนี้แสดงว่าคุณกำลังจะหาทางเปิดไฟล์ .spv และ .sav อยู่ใช่ไหม? 

ถ้าหากว่าใช่ในหัวข้อนี้จะอธิบายให้กระชับและเข้าใจง่ายที่สุด

ไฟล์นามสกุล .sav และ .spv เป็นไฟล์ที่มาจากโปรแกรม SPSS ดังนั้นหากคุณจะเปิด 2 ไฟล์ นี้ควรลงโปรแกรม SPSS ก่อนถึงจะเปิดได้ตามปกติ

และนอกจากนั้น 2 ไฟล์นี้จะเปิดได้เฉพาะบนเครื่องคอมพิวเตอร์ PC เท่านั้น!! และเครื่องที่ใช้เปิดไฟล์ดังกล่าวจะต้องใช้ Windows ต่อไปนี้ Windows 10, Windows 7, Windows 8 / 8.1, Windows Vista หรือ Windows XP

2. คุณไม่สามารถเปิดไฟล์ SPSS เวอร์ชั่นล่าสุด บนเครื่องที่เวอร์ชั่นเก่ากว่าได้

ปัญหานี้มักจะเจอกับผู้ใช้โปรแกรมที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป หากคุณไม่รู้ไม่ใช่เรื่องที่ผิดเพราะว่าในปัจจุบันโปรแกรม SPSS มีการปรับประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเสมอ จึงมีการอัพเดทเวอร์ชั่นใหม่ๆ อยู่เรื่อยๆ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการคำนวณให้รวดเร็ว และแม่นยำมากขึ้น 

ดังนั้นคนที่ไม่ได้ใช้ทุกวันจึงใช้เวอร์ชั่นเดิมที่ตนเองเคยชิน เนื่องจากเมนูคุ้มมือ คุ้นตา ซึ่งเวอร์ชั่นเก่าสุดที่บริษัทเคยสอบถามลูกค้าคือ SPSS เวอร์ชั่น 17 จึงพบปัญหาเปิดไฟล์ไม่ได้เมื่อสลับเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้อีกเครื่องที่มีโปรแกรม SPSS เวอร์ชั่นใหม่กว่า

3. การกำหนดรหัสตัวแปรจะแทนค่าด้วยตัวอักษรไม่ได้

การกำหนดรหัสตัวแปรทุกครั้ง จะต้องกำหนดในช่อง Values หากตัวแปรเป็นตัวอักษรจะต้องแปลงเป็นรหัสตัวเลขก่อน เพื่อให้โปรแกรมนำตัวเลขไปวิเคราะห์ผลได้สะดวกขึ้น 

เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ กําหนดให้ ‘เพศชาย’ มีค่าเท่ากับ 1 และ ‘เพศ หญิง’ มีค่าเท่ากับ 2 เป็นต้น

4. การตั้งชื่อตัวแปรห้ามมีช่องว่าง และมีอักขระพิเศษ โดยเด็ดขาด

การตั้งชื่อตัวแปรในช่อง Name โปรแกรม SPSS อนุญาตให้ตั้งชื่อที่เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ แต่สิ่งที่ห้ามทำอีก 2 อย่างในการตั้งคือ

– ห้ามมีการเคาะเพื่อให้เกิดช่องว่าง

– ใช้อักษรพิเศษอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ตัวอักษรหรือตัวเลข  เช่น  ? ,   + ,   – ,   * ,   / ,  …  ยกเว้นเครื่องหมาย  _ (underscore) 

หากฝืนกฎโปรแกรมจะแจ้ง Error ทันที!!

5. ห้ามตั้งชื่อที่มีความยาว 8 ตัวอักษร

การตั้งชื่อตัวแปรในช่อง Name นั้นนอกจาก SPSS จะไม่ให้มีการเคาะช่องว่างและตัวอักษรพิเศษแล้ว สิ่งสำคัญคือการตั้งชื่อต้องมีความยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร ดังนั้นข้อคำถามที่ยาวมากๆ จะต้องใช้รหัสแทน ผู้วิจัยควรมีตารางกำหนดรหัสดังนี้

ข้อคำถามลงรหัส
ด้านราคาPrice
สินค้าที่ท่านซื้อมีราคาเหมาะสมA1
สินค้าที่ท่านซื้อมีราคาถูกเมื่อเทียบกับร้านอื่นA2

อย่างไรแล้วกฎข้อห้ามบางข้อที่กล่าวมาข้างต้น อาจมีเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับการพัฒนาของโปรแกรม SPSS ดังเช่น SPSS รุ่นเก่าๆ ที่ไม่สามารถตั้งชื่อตัวแปรเป็นภาษาไทยได้เลย แต่ปัจจุบันมีการปรับปรุงให้ใช้ภาษาไทยได้แล้ว อนาคตอาจจะมีการปรับปรุงให้มีการตั้งชื่อตัวแปรที่ยาวกว่า 8 ตัวอักษรก็เป็นไปได้

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

งานวิจัย ANOVA ทำอย่างไร ที่นี่มีคำตอบ!

ANOVA, One Way ANOVA, หรือ F-test เป็นชื่อเรียกที่หลายๆ คนสับสน ว่ามันคือสถิติตัวเดียวกันหรือไม่ มีวิธีการทำอย่างไร แล้วต้องดูอย่างไรว่าตัวแปรดังกล่าวสามารถใช้สถิติ ANOVA ในการวิเคราะห์ได้ 

ซึ่งบทความนี้จะมีคำตอบให้คุณ ด้วยคำอธิบายในฉบับที่เข้าใจง่ายค่ะ

1. คำอธิบายของ ANOVA ฉบับเข้าใจง่าย

ANOVA หรือ One Way ANOVA นั้นมีชื่อเรียกย่อๆ ว่า F-test 

ซึ่งในบทความนี้จะขอเรียกว่า ANOVA เพื่อให้เข้าใจตรงกันนะคะ จากข้อคำถามข้างต้นที่บทความได้กล่าวนำคุณมาถึงตรงนี้ คงตอบข้อสงสัยแล้วใช่ไหมคะว่า ANOVA, One Way ANOVA, หรือ F-test คือสถิติตัวเดียวกันนั่นเอง  ซึ่งทั้งสามชื่อที่กล่าวมานั้นจะเรียกแตกต่างกันไป แล้วแต่นักสถิติท่านใดจะถนัดเรียก สาเหตุที่มีชื่อย่อเรียกแบบนี้ก็เพราะว่าผลที่แสดงในตาราง ANOVA นั้นจะมีตัวย่อคือตัว F นั่นเอง

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ซึ่งหน้าที่ของ ANOVA นั้น มีไว้เพื่อทดสอบสมมติฐานทางสถิติของตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ที่เป็นอิสระต่อกัน กับตัวแปรตาม ว่ามันมีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ดังเช่น ตัวอย่างในรูปที่ 1 ด้านบน

ตัวอย่างในรูปที่ 1 ต้องการรู้ว่า สถานภาพ (ตัวแปรต้น) ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อ ปัจจัยทั้ง 6 ได้แก่ ความเหลื่อมล้ำทางอำนาจ ความเป็นปัจเจกบุคคล มิติความแตกต่าง การหลีกเลี่ยงไม่แน่ การมุ่งเน้นเป้าหมาย การสนับสนุนองค์กร (ตัวแปรตาม) หรือไม่

โดยจุดมุ่งหมายของการทดสอบ ANOVA จริงๆ นั้นต้องการทดสอบเพื่อให้รู้ว่าค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่มาก
กว่า 2 กลุ่มนั้นแตกต่างกันคู่ไหนนั่นเอง ซึ่งก่อนอื่นต้องขออธิบายก่อนว่า ตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม คืออะไร 

ถ้าจะอธิบายให้เข้าใจง่ายๆ เลย ตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ก็คือ ตัวแปรในแบบสอบถามที่มากกว่า 2 ตัวเลือก นั่นเอง หากนึกไม่ออกให้ดูรูปภาพ ที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยม

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

คุณคงเข้าใจมากขึ้นแล้วใช่ไหมคะว่าตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม คืออะไร ต่อไป คงสงสัยกันแล้วใช่ไหมคะว่า ตัวแปรตามคืออะไร ตัวแปรตามก็คือ ตัวแปรที่เป็นผลที่ทำเกิดขึ้นภายหลังนั่นเอง 

ซึ่งตัวแปรนี้จะเป็นตัวที่ถูกทำนาย ตอบสนอง หรือเปลี่ยนแปลงได้ง่าย ให้สังเกตจากกรอบแนวความคิดแล้วกันนะคะ เข้าใจง่ายดีค่ะ

2. วิธีการตรวจสอบว่าตัวแปรดังกล่าวสามารถทดสอบ ANOVA ได้หรือไม่

จากการอธิบายข้างต้นคุณคงเข้าใจแล้วว่าตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่มคืออะไร ตัวแปรตามคืออะไร ดังนั้นวิธีการตรวจสอบว่าตัวแปรดังกล่าวสามารถนำไปทดสอบ ANOVA ได้หรือไม่นั้น ให้คุณตรวจสอบก่อนว่าค่าความถี่ของการตอบนั้น มีการตอบมากกว่า 1 คน หรือไม่ เหตุที่ต้องให้ตรวจสอบเช่นนี้เพราะว่า ถ้ามีคนตอบเพียง 1 คน จะนำทดสอบ ANOVA ไม่ได้ 

3. คำสั่งที่ใช้ในการวิเคราะห์ ANOVA

เลือกคำสั่ง Analyze>Compare Means>One Way ANOVA หน้าต่างจะปรากฎหน้าตาแบบนี้

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ใส่ตัวแปรตามที่มากกว่า 2 ตัวแปรเข้าไปในช่อง Dependent List ใส่ตัวแปรต้นเข้าไปในช่อง Factor

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

กดปุ่ม Post Hoc เพี่อเลือกวิธีเปรียบเทียบรายคู่ จากนั้นเลือกวิธีเปรียบเทียบรายคู่ที่คุณใช้ ในที่นี้ เลือกวิธีของ Scheffe’s

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

จากนั้นเลือก Continue>OK ถือเป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการทำ ANOVA

4. วิธีอ่านค่า ANOVA ในโปรแกรม spss

เมื่อนำตัวแปรเข้าทดสอบ จะได้ตาราง ANOVA ขึ้นมา

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

จากรูปจะเห็นว่าค่า Sig. ต่ำกว่า 0.05 ทุกด้านซึ่งวิธีที่จะรู้ว่าค่าเฉลี่ยคู่ไหนแตกต่างกันนั้น ต้องทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยส่วนใหญ่จะใช้การเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison test) ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) หรือการทดสอบ HSD ของทูกีย์ (Tukey’s HSD test) รวมถึงวิธีของนิวแมนคูลส์ (Newman Keuls method) ซึ่งการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ที่นิยมมากที่สุดก็คือ วิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) นั่นเอง จะมีหน้าตาดังนี้

ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

จากรูปจะเห็นได้ว่าตัวแปรต้นที่ส่งผลต่อตัวแปรตามได้ ก็ตือตัวแปรที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ในช่องของ Mean Difference นั่นเอง

จากบทความคุณคงเข้าใจวิธีการทำงานวิจัยด้วยสถิติ ANOVA มากขึ้น ดังนั้นการเริ่มใช้สถิติ ANOVA เบื้องต้นคุณคงพิจารณาข้อกำหนดดังกล่าวได้บ้าง แต่อย่างไรก็ตามการใช้สถิติต้องดูความเหมาะสมและดูวัตถุประสงค์อีกที เพื่อให้คุณสามารถเลือกสถิติได้ตอบวัตถุประสงค์มากขึ้น

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss

SPSS ไม่ยาก หากเข้าใจและมีเวลา

ในการศึกษางานวิจัยในแต่ละหัวข้อนั้น อาจจำเป็นต้องใช้สถิติขั้นสูงสำหรับการวิเคราะห์ SPSS ข้อมูลทางสถิติในงานวิจัย เช่น สมการพยากรณ์ โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) เป็นวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกับตัวแปรอิสระ หาความสัมพันธ์ลักษณะทางประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าต่างๆ

และ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ Factor Analysis เพื่อเป็นการลดรูปตัวแปร สำหรับ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ T-Test , F-Test เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลทางสถิติตัวแปรต้นที่มีผลต่อตัวแปรตาม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 เป็นต้น

วิเคราะห์ข้อมูล SPSS ไม่ยาก หากมีเวลามากพอ

เชื่อว่าหลายๆ ท่าน ก่อนที่จะทำการตัดสินใจเริ่มบริการวิเคราะห์ผลข้อมูล SPSS นั้น หลายคนต่างก็ต้องศึกษาข้อมูลในขั้นตอนบริการ เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูล SPSS ตามกำหนด รวมถึงประวัติการการบริการของบริษัทฯ เรามาแล้วทั้งนั้น

ซึ่งทางบริษัทฯ เราเข้าใจในความกังวลของทุกท่าน เพราะราคาสำหรับบริการ SPSS นั้นค่อนข้างสูงพอสมควร และต้องเป็นบริการที่น่าเชื่อถือและไว้ใจได้

ซึ่งการวิเคราะห์ผลข้อมูล SPSS นั้นก็ไม่ใช่เรื่องยาก เพราะพื้นฐานในการใช้โปรแกรม SPSS นั้นมีขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยากเท่าไหร่ แต่ส่วนใหญ่ที่ใช้ในบริการงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์นั้น เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงเกือบทั้งสิ้น

เว้นเสียแต่ว่าคุณมีความเข้าใจในขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล SPSS อยู่ก่อนแล้ว  แต่ที่สำคัญคือ เวลา ที่ต้องใช้ในการเก็บข้อมูล เพื่อนำมาประมวลผลในงานวิจัยนั้นๆ ต้องมีมากพอ และยิ่งหากคุณทำงานประจำ คุณอาจจะต้องเสียเวลามากในการความเข้าใจ และออกไปเก็บข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์เอง

การวิเคราะห์ข้อมูล SPSS ประเมินราคาจริงตามขั้นตอนและระยะเวลา

จากที่กล่าวมาข้างต้น สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล SPSS นั้น มีขั้นตอนและต้องใช้เวลาในการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ประมวลผล จึงมีราคาที่ค่อนข้างสูงพอสมควร แต่หากเทียบกับขั้นตอนกับระยะเวลาที่คุณต้องเสียในการวิเคราะห์ข้อมูลเองนั้นถือว่าคุ้มค่ามาก

ทางบริษัทฯ เราสามารถวิเคราะห์ข้อมูลสถิติผ่านโปรแกรม SPSS ในราคาที่สมเหตุสมผล ได้ข้อมูลสถิติที่มีคุณภาพ ถูกต้องตามหลักสถิติ และยังทำให้คุณไม่ต้องเสียเวลาในการศึกษาโปรแกรมในการอ่านผลวิเคราะห์ข้อมูล SPSS ด้วยตนเอง

และไม่ส่งผลต่อหน้าที่การงานประจำต้องเสียเวลาวิเคราะห์ข้อมูล SPSS เป็นอย่างมาก หรืออาจจะทำผิดหลักการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติในงานวิจัย และส่งผลให้เสียเวลาในการแก้ไขงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้แก้ไขปรับปรุง

สำหรับราคาบริการ SPSS มีเกณฑ์ที่หลากหลายเกณฑ์ โดยทางบริษัทฯ จะประเมินราคาบริการ SPSS ตามขั้นตอนและระยะเวลาตามที่กำหนดเป็นเกณฑ์มาตราฐาน

รับประกันในความเป็นมืออาชีพ ราคาเหมาะสม  และส่งงานตรงตามเวลากำหนด

หากคุณกำลังตัดสินใจสำหรับการบริการ SPSS กับทางบริษัทฯ เรา คุณสามารถมั่นใจและคลายความกังวลต่างๆ ลงได้

เนื่องจากทางบริษัทฯ มีทีมงานที่มีประสบการณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ มีความสามารถในการใช้โปรแกรม SPSS ผ่านการฝึกอบรมและการลงมือในการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยที่หลากหลาน ซึ่งรับรองได้ว่าคุณจะได้ผลการวิเคราะห์งานวิจัยที่มีวามถูกต้องตามหลักการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ SPSS สำหรับงานวิจัย หรืองานวิทยานิพนธ์ และตรงตามกำหนดระยะเวลาอย่างแน่นอน

ทางบริษัทฯ บริการ SPSS การันตีผลงานวิจัยทุกชิ้นงาน ทางบริษัทฯ เรามอบสิทธิแก้ไขงานฟรี 2 ครั้งต่อการวิเคราะห์ข้อมูล กรณีแก้ไขผลงานวิจัยให้เป็นครั้งที่ 3 ทางเราจะประเมินการตามเกณฑ์ราคาที่ตัวกำหนดตามจริง

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย